Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorถาวร สุวรรณไพฑูรย์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T04:03:55Z-
dc.date.available2023-07-13T04:03:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7646en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติกรณีตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในเขตกรุงเทพมหานคร(2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไป ปฏิบัติ (3) อุปสรรคและเสนอแนะในการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ให้ประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้นการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่เน้นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีประชากรเป็นข้าราชการตำรวจสังกัดในกองบัญชาการตำรวจนตรบาลจำนวน จำนวน 22,597 คน ทำการสุ่มตัวอย่างจากประชากรจำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบวัดผลครั้งเดียว การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการความ เที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือ ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ .8994 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์การถดถอยพหุผลการศึกษา พบว่า (1ประสิทธิผลของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติกรณีตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในเขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.43 ซึ่งการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติของตำรวจชุมชนสัมพันธ์มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับการสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปร คือ คุณลักษณะของข้าราชการที่พึงประสงค์ การมีส่วนร่วมและการปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดการบริหาร มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของงานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ โดยทั้ง 3 ตัวแปรสามารถอธิบายได้ร้อยละ 38.6 (3) จากศึกษาข้อเสนอแนะคือ กระบวนการบริหารมีความสำคัญต่อความสำเร็จ ในการปฏิบัติงานดังนั้นผู้บริหารควรนำหลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้คือ 1. ควรส่งเสริมด้านคุณลักษณะของข้าราชการที่พึงประสงค์ 1 AM READY ให้บุคลากรตระหนักปฏิบัติอย่างภาคภูมิใจโดยเน้น ส่วนของ 1) การวางแผน : การวิเคราะห์สถานการณ์และให้กำหนดแผนงานระบุเป้าหมายให้ชัดเจนโดยใช้ประโยชน์ของการวิเคราะห์ SWOT 2) การจัดการ: หน่วยงานต้องใช้การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบและควรลดขนาดหน่วยงานให้เล็กลง 3) ความพร้อมของบุคลากร: การประเมินระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 4) การอำนวยการ : การบริหารเสริมแรงโดยใช้แบบการจูงใจ และมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และใช้ Key Performance indicator (KPI) เป็นตัววัดผลสำเร็จของงาน 5) การประสานงาน: การสื่อสารจากบนลงล่างและให้ความสำคัญจากล่างขึ้นบน และเน้นการทำงานเป็นกลุ่มงานเพื่อนำไปสู่การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน 6)การรายงานผล ควรใช้เครื่องมือมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และใช้ Key Performance indicator เป็นตัวรายงานผลด้วยความถูกต้อง 7) แปลงวิสัยทัศน์ ลงสู่เป้าหมายระดับต่างๆ จนถึงการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมโดยยึดแนวทางในประชาชนเป็นศูนย์กลางและนำระบบรางวัลคุณภาพมาตรฐานใช้เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.99en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectตำรวจชุมชนสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการบริหารงานตำรวจth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการนำหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติ : ศึกษากรณีตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativePrinciples of the good governance implementation to performance : a case study of police community relations in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.99-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.99en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe rescarch objectives were to study (1) the effectiveness of the implementation of Principles of Good Governance to performance: a case study of Police community relations Metropolis (2) factors influencing the effectiveness of the implementation of Principles of the Good Governance to Performance (3) problems and obstacles, as well as provide recommendations to enhance more success of Police Community Relations performance. The study was a survey research focused on quantitative research. Population comprised 22,597 police officers of Metropolitan Police from which 400 samples were randomized. Questionnaire which was used as tool to collect data, had been tested for validity, with .8994 reliability level. Statistical instruments applied to analyze data were percentage, mcan, standard deviation, t-test, Analysis of Variance, and multiple regression analysis. The study found that (1) the effectiveness of the implementation of Principles of Good Governance to performance was in highest level with mean at 4.43; multiple regression analysis showed that the implementation was at 0.05 level of significance which was consistent with the hypothesis (2) three variables which were: needed feature of government officials or I AM READY , participation, and management factors of POSDCoRB; correlated positively with success in the performance of Police Community Relations Metropolis, multiple regression analysis could explain the correlations at 38.6 percent. From the study , recommendations were: management process was critical to successful operation, so the management should adopt new public management to their practice while enhance the concept of I AM READY, so consequently the officers would proudly perform their duty; moreover the management should focused on 1)Planning: particularty on scenario analysis to indentify program goals and also employ SWOT to its full potential 2)Organizing: Benchmarking, comparison analysis should be conducted together with the downsizing to smaller unit 3)Staffing : Human Resource Scorecard should be applied to assess HR system 4) Directing: reinforcement to motivate personnel should be employee via job design, result should be emphasized, while KPI should be used to measure job achievement 5) Coordination: communication from top to bottom, with emphasis on communication from bottom to top, teamwork shouid be encouraged so to foster quality of services to the public 6) Reporting: the management should employ tools of Result based and Key Performance Indicator to ensure correct report 7) Budgeting: Result-Based budget should be used, Balanced Scorecard should be applied in cascading vision to goals in various levels, participetion with the emphasis of people-centric approach sbould be encouraged and also PMQA (Public Sector Management Quality Award) should be implemented in the organization.en_US
dc.contributor.coadvisorสุรพร เสี้ยนสลายth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118930.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons