Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณนิศา ตังคโนภาส, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T06:59:45Z-
dc.date.available2023-07-13T06:59:45Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7674-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด(มหาชน) สํานกงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์ (2) ศึกษาปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์จํากัด (มหาชน) สํานกงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์ (3) เปรียบเทียบการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) สํานกงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์จําแนกตามลักษณะสาขาการศึกษาครั้งนี้ ประชากรคือ พนักงานธนาคารไทยพาณิชย์จํากัด (มหาชน) สํานกงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์ จํานวน 357 คน สุ่มตัวย่างแบบแบ่ง ตามสัดส่วนจำนวนพนักงานในแต่ละสาขา ได้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 189 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) สํานกงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์ในภาพรวมอยในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการเรียนรู้ ร่วมกันเป็นทีม ด้านการคิดเชิงระบบ ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้และด้านการมีแบบแผนความคิด (2) ปัจจยทางการบริหารที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์จํากัด (มหาชน) สํานักงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์อย่างมีนัยสําคญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ ด้านระบบองค์การ และด้านการจูงใจ (3) การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์จํากัด (มหาชน) สํานักงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์ แตกต่างกันตามลักษณะสาขา โดยสาขาที่ทํางานทุกวัน ระดับ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้มากกว่าสาขาที่ทํางานสัปดาห์ละ 5 วัน ในด้านการมีแบบแผนความคิด ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และด้านการคิดเชิงระบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานเขตพื้นที่ราชพฤกษ์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the learning organization of Siam Commercial Bank Public Company Limited in Ratchphruek Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the learning organization level of Siam Commercial Bank Public Company Limited (SCB) in Ratchphruek Area; (2) to study management factors affecting the learning organization of SCB in Ratchphruek Area; and(3) to compare the learning organization by branch of SCB in Ratchphruek Area. This study was survey research. The population was 357 employees of SCB in Ratchphruek Area. The sample size was 189 employees randomized by stratified random sampling in branch of SCB in Ratchphruek Area. Data were collected though questionnaire. The data were analyzed as percentage, mean, standard deviation, independent t-test and Multiple regression. Survey result showed that (1) overall of the learning organization level of SCB Ratchphruek Area was at the hight level. It was found individually that the factors in shared vision, team learning, system thinking, personal mastery, and mental models were at the hight level; (2) management factors affecting the learning organization of SCB Ratchphruek Area at 0.05 statistically significant level were culture, organizational system and motivation; and (3) the learning organization level of SCB Ratchphruek Area has different. In branch of everyday was the learning organization at the hight level more than branch of week 5 days in mental models, shared vision, team learning, system thinking at 0.05 statistically significant level and personal mastery to not differenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130792.pdf10.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons