Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7677
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินตนา ธนวิบูลย์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิริมา แสงอาวุธ, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T07:17:20Z-
dc.date.available2023-07-13T07:17:20Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7677-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจตามปัจจัยที่ผู้บริโภคได้ตัด สินใจซื้อที่อยู่อาศัย (2) ศึกษากระบวนการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยกับกระบวนการตัดสินใจซื้อ กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตามการแบ่งทาง ภูมิศาสตร์ เป็น 6 โซน จำนวน 400 คน แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริโภคที่ได้ซื้อที่อยู่อาศัย จำนวน 202 คน และ กลุ่มผู้บริโภคที่กำลังซื้อที่อยู่อาศัย จำนวน 198 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยสำรวจ โดย ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบไคสแควร์ โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS FOR WINDOWS ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการตัดสินใจด้านปัจจัยส่วนบุคคลทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 25-35 ปี แต่งงานแล้ว และมีขนาดครอบครัว 3-4 คน พฤติกรรมการตัดสินใจด้านปัจจัยทางสังคม และกลุ่มอ้างอิง ทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนมากมีอาชีพ เป็นพนักงานบริษัท รายได้ต่อเดือนตํ่ากว่า 20,000 บาท มีระดับ การศึกษาปริญญาตรี โดยบิดา-มารดาและคู่สมรสเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ส่วนพฤติกรรมการ ตัดสินใจด้านปัจจัยทางการตลา ทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนมากตัดสินใจเลือกบ้านเดี่ยวตกแต่งภายในแล้ว และ มีสภาพ แวดล้อมดี ราคา 1-2 ล้านบาท โดยเฉพาะในโซนตะวันตก นิยมเงินผ่อน และที่อยู่อาศัยที่ลดราคา ผู้บริโภค กระบวนการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยที่ผู้บริโภคใช้ในการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยทั้ง 3 ปัจจัยไม่สัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจซื้อ ที่อยู่อาศัย ทั้งผู้ที่ซื้อที่อยู่อาศัยแล้วและกำลังจะซื้อที่อยู่อาศัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectที่อยู่อาศัย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.subjectที่อยู่อาศัย -- การจัดซื้อth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคใน พ.ศ. 2540-2545 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeConsumer-behavior studies of decision making on buying houses in Bangkok metropolitan and vicinities from 1997 to 2002th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are threefold: (1) to study consumers' decision making behavioral factors on buying houses, (2) to study consumers decision making process on buying houses, and (3) to study the relationship between consumers' decision making behavioral factors and their decision making process on buying houses. From the population of six-geographical-zone Metropolitan Bangkok and its vicinity, 400-person sample group (subdivided into two sections: 202 consumers with the already-buying houses and 198 consumers with the buying houses potentials) was studied under the survey method using the approved questionnaires devised by this researcher. For statistical analyses, SPSS for WINDOWS was then employed to seek frequency distribution, percentage, arithmetic means, standard deviation, and Chi square test. The findings revealed that, as for the two subgroups'decision making behavior factor, the majority were 25-to-35-year-old married female consumers with 3 to 4 family members. Concerning the social and reference-group factor influencing these subgroups' decision making behavior, most studied subjects were corporate employees with the minimum salary of 20,000 Baht, with the bachelor s degree, and under parents and spouses' influences. About the marketing factor affecting these groups decision making behavior, most people decided to buy interior-decorated, reasonably-priced houses in decent surroundings: especially, in the western zone, preferred houses with installment payment terms and special discount. All in all, the consumers’ decision making process on housing purchases was at the substantial level. Interestingly, there was no significant correlation between the three factors and the decision-making process on housing purchases of both groups: the consumers with the already-buying houses and those with the buying houses potentialsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78980.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons