Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสงth_TH
dc.contributor.authorวราภรณ์ ขลิบทอง, 2502-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T07:38:00Z-
dc.date.available2023-07-13T07:38:00Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7683en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารบริการ ส่งถึงที่ของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาปัจจัย และลำดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารบริการส่งถึงที่ และ (3) ศึกษาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอาหารบริการส่งถึงที่ และรูปแบบการบริการ กลุ่มตัวอย่าง 400 คน ได้มาจากคนที่ทำงานในบริษัท/ห้างร้าน/ส่วนราชการ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยวิธีการกำหนดโควต้า เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเชื่อมั่น 0.95 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าที ค่าเอฟ ค่าไคสแคว และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีของ เชฟเฟ่ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS/PC ผลการวิจัยพบว่า (1) คนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารบริการส่งถึงที่คือ นิยมบริโภคอาหารประเภทพิซซ่า ในมื้อกลางวัน มีราคาระหว่าง 101 – 400 บาท โดยสั่งซื้อ ทางโทรศัพท์ให้ส่งที่บ้าน เพื่อรับประทานกับครอบครัว ชำระเป็นเงินสด ทั้งนี้จะบริโภคนาน ๆ ครั้ง เหตุผลที่บริโภคอาหารประเภทนี้ เพราะไม่มีเวลาประกอบอาหาร (2) ความสะดวกในการสั่งซื้อ เป็นแรงจูงใจของคนวัยทำงานให้บริโภคอาหารบริการส่งถึงที่ อีกทั้งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความถี่ในการบริโภคปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศรายได้ และจำนวนสมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์กับมื้ออาหารและความถี่ในการบริโภค ปัจจัยด้านเพศมีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการบริโภคอาหาร (3) แนวทางในการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพอาหารบริการส่งถึงที่และรูปแบบการบริการคืออาหารต้องสะอาด ราคาควรจะถูกกว่าปัจจุบัน ควรกระจายเข้าไปในบริเวณชุมชนและมีการส่งเสริมการขายอย่างสม่ำเสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.69en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารบริการส่งถึงที่ของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeStudy of behavior of working people in Bangkok metropolitan area concerning food deliveryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2002.69-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.69en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were (1) to study of behavior of working people in Bangkok Metropolitan Area concerning food delivery; (2) to study factors and importance’s levels of factors which changed behavior of food delivery consuming; (3) to study how to develope and improve quality of food delivery and type of service. The 400 samples gathered from the working people who lived in Bangkok Metropolitan Area working in the company, shop and government section, using the Quota Sampling method. The research instrument used was a set of questionnaires (reliability level at 0.95). SPSS/PC computer program was used to calculate the percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test, Chi-squre and Scheffe’s. Servey results showed that (1) the behavior of working people in Bangkok Metropolitan Area concerning food delivery was as follow: the favorite delivery food was PIZZA at lunch in weekend which between 101 – 400 baht price. It was ordered to delivery to home by telephone then paid in cash for having together among the family. The reason for having this kind of food was because no time for cooking. (2) The convenience to order was motivated the working people to consume the dilivery food and being a frequency consuming factor too. The demographic factor as sex, marriage status, education level income and number of people in the family were related to the meals and consuming frequency. The sex factor were related to the consuming reason. (3) To develop and improve quality of food delivery and services by having clean food, low price, having in community and setting sale promotion frequently.en_US
dc.contributor.coadvisorสรชัย พิศาลบุตรth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78981.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons