Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7689
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภาth_TH
dc.contributor.authorจุฑามณี พิพิธปิยะปกรณ์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T07:48:34Z-
dc.date.available2023-07-13T07:48:34Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7689en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการบริหารงานสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ประชากรที่ทำการศึกษา คือ ผู้บริหารระดับต่างๆ ของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จำนวน 1,590 คนจากสถานศึกษา 390 แห่ง ในการวิจัยครั้งนี้กำหนดให้ขนาดของสถานศึกษาที่แบ่งโดยจำนวนนักเรียน เป็นตัวแปรอิสระ โดยทำการศึกษาและเปรียบเทียบตามขนาดสถานศึกษาเกี่ยวกับ (1) สภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (2) สภาพประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น (3) สภาพการเพิ่มประสิทธิภาพ และ (4) สภาพปัญหาและปัจจัยสำคัญในการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการบริหารงานสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนในปีการศึกษา 2544 ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการบริหารในระดับปานกลาง โดยสถานศึกษาขนาดใหญ่มีการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการบริหารมากกว่าสถานศึกษาขนาดเล็ก (2) การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทำ ให้ประสิทธิภาพด้านความถูกต้อง ด้านประหยัดเวลา ด้านการตัดสินใจ และด้านการให้บริการ เพิ่มขึ้นในระดับมาก ส่วนด้านค่าใช้จ่ายในการบริหาร เพิ่มขึ้นในระดับปานกลาง โดยสถานศึกษาขนาดใหญ่มีระดับประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในด้านค่าใช้จ่ายในการบริหาร ด้านการให้บริการ และด้านการตัดสินใจ มากกว่า สถานศึกษาขนาดเล็ก (3) ระดับการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในระดับหนึ่งจากการทดสอบหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน โดยสถานศึกษาแต่ละขนาดมีลักษณะความสัมพันธ์ใกล้เคียงกัน (4) ปัญหาในการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการส่วนใหญ่มีในระดับมาก สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีปัญหาด้านเครื่องมืออุปกรณ์และด้านการขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร น้อยกว่า สถานศึกษาขนาดเล็กและกลาง โดยปัจจัยทุกด้านมีความสำคัญในระดับปานกลาง สถานศึกษาขนาดใหญ่ให้ความสำคัญกับทุกปัจจัยมากกว่าสถานศึกษาขนาดอื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.79en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาทางอาชีพ--การบริหารth_TH
dc.titleสภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการบริหารงานธุรกิจสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนth_TH
dc.title.alternativeUtilization of management information systems in the administration of private vocational schoolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2002.79-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.79en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to study the utilization of management information system (MIS) in the administration of private vocational schools. The sample group consisted of 1,560 administrators from 390 private vocational schools in 13 educational regions all over Thailand. The scope of interest included to study and compare (1) the level of utilization of the MIS in school administration based on school size; (2) the level of their perception of increased efficiency; (3) the relationship of the level of utilizationof the MIS and the level of their perception of increased efficiency and; (4) the level of their perception of problems and key factors experienced in using MIS among 4 different school sizes; small, medium, large, and extra large based on their number of students (significantly different at the .05 level). The results of this study were (1) The administrators ranked their level of utilization of the MIS in the school administration to be at a medium level. Large schools utilized the MIS in the school administration more than small schools. (2) The administrators ranked the level of their perception of increased efficiency in accuracy, speed, decision making, and customer service aspects to be at a high level, while the increased efficiency in the administration cost aspect was at a medium level. Large schools ranked the level of their perception of increased efficiency in the administration cost, customer service, and decision-making aspects higher than small schools. (3) The utilization level was partially related to the perception of increased efficiency. And each size of schools had the similar trend of relationship. (4) Problems in using MIS-were perceived to be at a high level. Extra Large schools had the problems in equipment and administrator support less than small and medium schools. The administrators ranked the level of their perception of key factors in using MIS to be at a medium level. Large schools focused on every factor in a higher level than others.en_US
dc.contributor.coadvisorนลนี ไกรคุณาศัยth_TH
dc.contributor.coadvisorอุษาวดี จันทรสนธิth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78982.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons