Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปณาลี สำอางค์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T08:17:24Z-
dc.date.available2023-07-13T08:17:24Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7695-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาพลักษณ์ของโตโยต้าในมุมมองของกลุ่ม ลูกค้าบริษัท โตโยต้า ลิบรา จํากัด (2) ความภักดีในตราสินค้าโตโยต้าของกลุ่มลูกค้าบริษัท โตโยต้า ลิบรา จํากัด จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ของโตโยต้ากับ ความภักดีต่อตราสินค้าบริษัท โตโยต้า ลิบรา จํากัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ ลูกค้าที่มาเข้ามาใช้บริการของ บริษัท โตโยต้า ลิบรา จํากัด ช่วงเดือน พฤษภาคม-กรกฏาคม 2559 จํานวน 3,700 คน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคํานวณของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้ 400 คน ด้วย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ เชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า ลูกค้าที่มาใช้บริการจากบริษัท โตโยต้า ลิบรา จํากัด ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง อายุ 31-40 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 – 30,001 บาท อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาระดับปริญญาตรี มีสมาชิกในครอบครัว 4-5 คน มีรถยนต์ที่ใช้ในครอบครัว 2-3 คัน (1) ลูกค้ามีระดับความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านตราสินค้า และด้านองค์กร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ (2) ลูกค้ามีระดับความคิดเห็นต่อความภักดีในตราสินค้าโตโยต้าโดยรวมอยู่ในระดับดีส่วนเพศ อายุ รายได้ต่อเดือน อาชีพ ระดับการศึกษา และจํานวนสมาชิกในครอบครัว ของลูกค้าที่แตกต่างกัน มีผลต่อความภักดีใน ตราสินค้าโตโยต้าไม่แตกต่างกัน ยกเว้นจํานวนรถยนต์ที่ใช้ในครอบครัว แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ 0.01 และ (3) ภาพลักษณ์ของโตโยต้ากับความภักดีในตราสินค้าโตโยต้ามีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันในระดับค้อนข้างสูง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาพลักษณ์บริษัทth_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การth_TH
dc.subjectความภักดีของลูกค้าth_TH
dc.titleภาพลักษณ์โตโยต้ากับความภักดีของลูกค้าในตราสินค้า บริษัท โตโยต้า ลิบรา จำกัดth_TH
dc.title.alternativeToyota's brand image and customer brand loyalty of Toyota Libra Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis objectives of this study were: (1) to study the image of Toyota for customer’s perspectives of Toyota Libra Company Limited; (2) to study the brand loyalty of Toyota’s branding of customers’ Toyota Libra Company Limited by demographic factors; and (3) to investigate the relationship between the image of Toyota and the customer brand loyalty of Toyota Libra Company Limited. This study was a quantitative research. The population was 3,700 customers using service with Toyota Libra Company Limited in May-July 2016. The sample size calculated by Taro Yamane formula was used in this research with the level of 95% confidence for 400 samples. The instrument used for collecting data was questionnaire. Descriptive statistical analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, whereas inferential statistics used to test the hypotheses included Independent sample t-Test, and correlation analysis of Pearson. The result of study found that: most of the respondents were female aging between 21-30 years old, graduated bachelor degree, with the average income per month of 15,000- 30,001 baht. Their occupation were company employees. They had household membership of 4-5 persons and used maximum of 2-3 cars vehicles per family. (1) The respondents had opinion on the overall image of Toyota at a very high level. If considering for each item, it was found that the branding and organization was at the highest level and followed by product. (2) They had opinion on the overall Toyota brand’s loyalty at a high level. The respondents’ personal factors of gender, age, income, occupation, education and household membership were not statistical different significantly to brand loyalty, except number of car per family was different at statistical significance of level 0.01. (3) The Image of Toyota and the loyalty of Toyota was slightly high correlated at statistical significance of level 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150239.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons