Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี กิตติจิตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวารินทร์ ตุลาคุปต์, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T08:35:31Z-
dc.date.available2023-07-13T08:35:31Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7700-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้นโยบายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงานของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากร ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) เปรียบเทียบการใช้นโยบายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงานของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากรที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจำแนกตามลักษณะของบริษัท ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลจากรายงานการเงิน ปี 2554 และแบบแสดงรายการ ข้อมูล ปี 2554 (แบบ 56-1) ประชากรที่ศึกษา คือ บริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากรที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 27 บริษัท สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ และทำการทดสอบสมมติฐานการศึกษาด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ONOVA) และเมื่อพบความแตกต่างจะทำการทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี Least Significant Different (LSD) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) การเลือกใช้นโยบายการบัญชีในเรื่องการรับรู้ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างเลือกใช้วิธีปรับลดกำไรสะสมต้นงวดมากที่สุด รองลงมาเลือกวิธีปรับงบการเงินย้อนหลัง และเลือกวิธีรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนน้อยที่สุด (2) บริษัทที่มีนโยบายการจัดหาเงินในด้านอัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ยและมีอัตราการเติบโตในด้านอัตราการเพิ่มของรายได้ จากการขาย ที่แตกต่างกัน เลือกใช้นโยบายการบัญชีแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบัญชี--มาตรฐาน--ไทยth_TH
dc.subjectสวัสดิการลูกจ้าง--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleการใช้นโยบายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงานของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากรที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe use of accounting policy in accordance with accounting standard No. 19 "employee benefits" of the companies in resources industry group registered in the Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims at (1) studying the use of accounting policy in accordance with Accounting Standard No.19 “Employee Benefits” of the companies in Resources Industry Group registered in the Stock Exchange of Thailand, and (2) comparing the use of accounting policy in accordance with Accounting Standard No.19 “Employee Benefits” of the companies in Resources Industry Group registered in the Stock Exchange of Thailand based on the nature of the companies. The data used in this study was collected from the financial report year 2011 and registration statement year 2011 (form 56-1). The target group is 27 companies in Resources Industry Group registered in the Stock Exchange of Thailand. The statistic tools used for analysis were Mean and Percentage. Hypothesis testing was done with One-Way ONOVA. In case that the difference was found, Least Significant Different (LSD) at the statistical significance level 0.05 would be used for testing the difference between a pair of Means. The study found that (1) in order to use accounting policy in relation to the recognition of employee benefit obligation; the target group mostly used dilution of retained earnings at the beginning period method. The second method used is retroactive restatement method and the method of recognition all obligations as expenditures was least used, and (2) the companies which have financing policy on different interest coverage ratio as well as the companies which have growth rates of different increase ratio in sales used different accounting policy with the statistical significance at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134729.pdf11.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons