Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorกอบกุล กุลเสรีรุ่งโรจน์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T01:55:49Z-
dc.date.available2023-07-14T01:55:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7707en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการประกันภัยประเภทต่าง ๆ ของรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริโภคจำแนกตามคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่มีต่อการประกันภัยประเภทต่าง ของรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ในเขตกรุงเทพมหานคร (3) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญตามความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมการตลาดกับการประกันภัยประเภทต่าง ๆ ของรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรคือ ผู้ซื้อการประกันภัยประเภทต่าง ๆ ของรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ที่มีที่พักอาศัยหรือมีสถานที่ทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร ขนาดตัวอย่าง 400 ราย การวิจัยใช้แหล่งข้อมูลทุติยภูมิเป็นเบื้องต้น และใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริโภคเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้การคำนวณทางสถิติ เพื่อเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลจากการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีจำนวนหญิงมากกว่าชาย จบปริญญาตรีมากที่สุดมีรายได้เฉลี่ยตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป โดยมีอาชีพรับจ้าง/พนักงานบริษัท มากที่สุด กลุ่มตัวอย่างเลือกการประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 มากที่สุดเพราะมีความเข้าใจและเห็นว่าคุ้มค่า โดยส่วนใหญ่จะเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ด้วยตนเอง ผู้บริโภคที่มีลักษณะประชากรศาสตร์แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการประกันภัยประเภท พ.ร.บ. ของรถยนต์นั่งส่วนบุคคลซึ่งเป็นความคุ้มครองพื้นฐานไม่แตกต่างกัน แต่มีความคิดเห็นต่อการประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 และ 3 แตกต่างกันในบางหัวข้อ ความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อส่วนประสมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับสำคัญมาก แต่เฉพาะการส่งเสริมการตลาดมีส่วนสำคัญค่อนข้างน้อยต่อการประกันภัยรถยนต์ จึงควรเน้นด้านการให้บริการทั้งก่อนและหลังการขายมากกว่าการ ลด แลกแจก แถม ควรมีการพิจารณาปรับปรุงการประกันภัยรถยนต์ประเภท 2 และ พ.ร.บ. และควรสื่อสารโดยตรงกับผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันรถยนต์th_TH
dc.subjectรถยนต์นั่งส่วนบุคคลth_TH
dc.titleความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการประกันภัยประเภทต่าง ๆ ของรถยนต์นั่งส่วนบุคคลในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumer's attitude toward the various motor insurance of private car in Bangkok areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives are to (1) investigate the consumers' opinion. (2) to compare the opinion among consumers who took different characteristic and. (3) to study the significance of the Marketing Mix. The samples were selected from the people who live or work within the Bangkok area. The primary data obtains from a result of the questionnaires that sent by post and by personal delivery. The analyzed by basis statistic as mean, standard deviation. Kiuskal-Wallis and t-test. Moreover, the secondaiy data came from theory, thesis, article, and internet. According to the research, the majority of the sample showed that there is more female answer the questionnaire than male. Mostly earned B|it. 10.000.00 up and completed bachelor's degree considered selecting the motor insurance by themselves. Motor insurance type I was major selected because of the board cover. There is no different opinion forward Compulsory but different opinion forward few items of the motor insurance type I & type m. Motor insurance type II together with Compulsory should be revised and be supported to the consumers needs. The promotional method could not make any motivate any market level therefore best sendee has to emphasize to the consumer. Direct communication should be done to the consume.en_US
dc.contributor.coadvisorศิริชัย พงษ์วิชัยth_TH
dc.contributor.coadvisorอดิลล่า พงศ์ยี่หล้าth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79792.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons