Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาศรี พงศ์ธนาพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภรัชต์ สีแจ้, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T03:06:53Z-
dc.date.available2023-07-14T03:06:53Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7719-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อชานมไข่มุกร้านแบร์เฮาส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตัวอย่างผ่านแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม online โดยการสุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติพรรณนา เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร โดยขอบเขตของงานวิจัยและกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เคยใช้บริการร้านแบร์เฮาส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะเวลาในการดำเนินงานตั้งแต่เดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม 2563 สำหรับสมมติฐานในงานวิจัยครอบคลุมทั้งปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านช่องทางจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านกระบวนการและปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ และปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ สถานภาพและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ผลการวิจัย พบว่าปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อชานมไข่มุกร้านแบร์เฮาส์ เพราะเพศของกลุ่มผู้บริโภคมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อชานมที่แตกต่างกันโดยเพศหญิงจะนิยมบริโภคชานมมากกว่าเพศชาย อายุของกลุ่มของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อชานม และผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาด ประกอบด้วย ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการให้บริการมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อชานมไข่มุกร้านแบร์เฮาส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครในทุกด้าน หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นตัวแปรทางการตลาดที่สามารถควบคุมได้ซึ่งบริษัทนำมาใช้ร่วมกันเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectชานมไข่มุก--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการธุรกิจและการบริการth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อชานมไข่มุกร้านแบร์เฮาส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe relation of marketing mix factors and the consumer’s pearl milk tea purchase at Bearhouse Store in Bangkok Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและการบริการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the correlation between consumer behavior and marketing mix factors that are related to the customer’s purchase of pearl milk tea at Bearhouse Store in Bangkok. Sample data was collected from online questionnaires done by a random sample of 400 people and The answer was analyzed by using descriptive statistical analysis to examine the difference from the population mean. The scope of the research and the sample group are gathered from people who have been a consumer of Bearhouse Store in Bangkok during the period of September to December 2020. The research hypothesis covers both marketing mix factors (7P's), which consisted of product factors, price factors, place factors, promotion factors, people factors, process factors and physical factors, and demographic factors including gender, age, occupation, status and average monthly income. The research showed that personal factors, including gender, age, level of education, occupation and average income, were associated with pearl milk tea purchasing behavior at Bearhouse store. For instance, the gender of the customer group relates to the different purchasing behavior of pearl milk tea. According to the analysis, females are more likely to consume pearl milk tea than males. The age of the consumer group was also associated with pearl milk tea purchasing behavior. Besides, the research results on marketing mix factors, consisting of product, price, place, people, promotion, physical, and process factors, reflected that they’re related to the Bangkok consumer’s decision to purchase pearl milk tea at Bearhouse in all aspects. It could be considered as controllable marketing variables that the company uses combinedly to meet the satisfaction of targeted customersen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons