Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/771
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ | th_TH |
dc.contributor.author | เถกิง กาญจนะ, 2498- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-18T11:05:25Z | - |
dc.date.available | 2022-08-18T11:05:25Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/771 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) จุดที่มีการสูญเสียนํ้าตาล และนํ้าในกระบวนการผลิตนํ้าอัดลม (2) การนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้เพื่อเพิ่มอัตราการใช้นํ้าตาลที่เสียไปในการผลิต (3) การนำเทคโนโลยีสะอาด มาใช้เพื่อลดการใช้นํ้าในการผลิต และ 4) ระยะเวลาการคืนทุนหลังการนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในโรงงานผลิตนํ้าอัดลมแห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยการวัดปริมาณ การใช้นํ้าตาล และการใช้น้ำจากหน่วยงานปรับคุณภาพนํ้า หน่วยเตรียมนํ้าเชื่อม หน่วยผสมหัวเชื้อ หน่วยเครื่องผสมและบรรจุในสายการผลิต และหน่วยเครื่องล้างขวด เก็บข้อมูลโดยการอ่านค่าปริมาณการใช้ นํ้าตาลและนํ้า แต่ละจุดจากมิเตอร์ โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูล 9 เดือน นำข้อมูลมาเปรียบเทียบ ระหว่างก่อนและหลังการนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) จุดที่มีการสูญเสียนํ้าตาลและนํ้า ได้แก่ หน่วยผสมหัวเชื้อ หน่วยเครื่องผสมและเครื่องบรรจุ ในสายการผลิต หน่วยเครื่องล้างขวด และหน่วยปรับคุณภาพนํ้า (2) การนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ สามารถเพิ่มอัตราการใช้นํ้าตาล ร้อยละ 0.18 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) การนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ สามารถลดการใช้นํ้าลง 0.24 ลิตรนํ้า/ลิตรผลิตภัณฑ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ระยะเวลาการคืนทุนในการใช้เทคโนโลยีสะอาด ในการเพิ่ม อัตราการใช้นํ้าตาลภายใน 16.51 เดือน การประหยัดนํ้าจากเครื่องล้างขวดภายใน 7.21 เดือน และจากหน่วยปรับคุณภาพนํ้าภายใน 185.66 เดือน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.335 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุข--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีสะอาด | th_TH |
dc.subject | โรงงานน้ำอัดลม | th_TH |
dc.title | การนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในโรงงานผลิตน้ำอัดลม | th_TH |
dc.title.alternative | Application of cleaner technology in a carbonated soft drink plant | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.335 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research were to study : (1) the loss areas of sugar and water usage in the production process of carbonated soft drink; (2) application of Cleaner Technology (CT) to increase rate of sugar usage instead of loss in the production; (3) application of CT to reduce water consumption in the production; and (4) payback period of investment after application of CT in a carbonated soft drink plant located in the South of Thailand. This research was a quasi-experiment study by measuring sugar and water usage from areas of water treatment unit, simple syrup unit, finished syrup unit, mixing and filling unit in production lines and bottle washing unit. The data were collected by reading amount of sugar and water usage from meters at each area for 9 months. The data were then compared between before and after CT application. The data were analyzed by statistics of percentage, mean and t-test. The results of the study showed that: (1) the loss areas of sugar and water were found in finished syrup room, mixing and filling unit in production line, and bottle washing unit and water treatment unit; (2) application of CT increased 0.18 % rate of sugar usage at the significantly statistical level of 0.05; (3) application of CT reduced the water consumption 0.24 liter of water per liter of the product at the significantly statistical level of 0.05; and (4) the payback period of increasing sugar usage within 16.51 months, reducing water consumption at bottle washing unit within 7.21 months and at water treatment unit within 185.66 months | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศริศักดิ์ สุนทรไชย | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
132597.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License