Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7723
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทวีศักดิ์ คงพันธุ์, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T03:18:08Z-
dc.date.available2023-07-14T03:18:08Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7723-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (2) เพื่อเสนอยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รูปแบบการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้างที่ปฏิบัติงานในสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 38 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว และการสนทนาแบบกลุ่ม และวิเคราะห์สรุปข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และประเด็นการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพแวดล้อมของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีจุดแข็ง คือ มีบุคลากรมีความรู้ความสามารถ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถปฏิบัติงาน และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี จุดอ่อน คือ ขาดการทำงานเป็นทีม บุคลากรไม่ครบตามโครงสร้างของหน่วยงาน บุคลากรปฏิบัติงานได้แต่หน้าที่ของตัวเอง ยังไม่สามารถทำงานแทนกันได้ ขาดแรงจูงใจ หรือกำลังใจในการทำงาน ด้านโอกาส มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมที่ทันสมัยที่ช่วยทำให้บุคลากรปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถทำให้ประชาชนเข้าถึงการใช้บริการต่าง ๆ หรือการประชาสัมพันธ์ได้ง่าย ด้านอุปสรรค งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติจากส่วนกลางนั้นมีจำกัด (2) เสนอยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การดำเนินงาน ของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาต้นทุนทางวัฒนธรรมในสังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1.1 การพัฒนาองค์ความรู้ทางวัฒนธรรม และกลยุทธ์ที่ 1.2 การสร้างกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเชื่อมโยงและยกระดับเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 2.1 การขยายเครือข่ายทางวัฒนธรรมโดยเน้นการบูรณาการในระดับพื้นที่ และกลยุทธ์ที่ 2.2 การส่งเสริมให้เกิดชุมชน บุคคลต้นแบบด้านวัฒนธรรมในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการองค์ความรู้ให้เป็นระบบ ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 3.1 การจัดการองค์ความรู้ด้านการบริหาร และกลยุทธ์ที่ 3.2 การจัดการองค์ความรู้ทางด้านวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีของบุคลากร ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 4.1 การสร้างแรงจูงใจในการทำงานเพื่อดึงศักยภาพของบุคลากร กลยุทธ์ที่ 4.2 การส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาบุคลากรเพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถ ทักษะ และความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์--แง่ยุทธศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleยุทธศาสตร์การดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeStrategy of Prachuap Khirikhan Provincial Cultural Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyze the environment of Prachuap Khirikhan Provincial Cultural Office, and (2) to introduce the strategies and operating strategies of Prachuap Khirikhan Provincial Cultural Office. This research was a qualitative research. The research tool was a structured interview form. Population was 38 people, consisting of government officials, government employees and employees. The data were collected from in-depth interview and group discussion. Moreover, The data analysis was conducted by content analysis from document study, in-depth interview and group discussion. The results showed that (1) the strength of Prachuap Khirikhan Provincial Cultural Office was the staffs. They were knowledgeable, understandable and experienced. They could perform and solve problems well. However, the weakness was a lack of teamwork. There was a shortage in personnel placement according to the organization structure. Staffs could not perform a job rotation. Moreover, the staffs lacked motivation or encouragement to do their work. Considering the opportunity, Prachuap Khirikhan Provincial Cultural Office had an information technology and innovations that helped improving staff operation and public relations. Nevertheless, the threat was the limited annual budget allocating from the government. (2) To introduce the strategies and operating strategies of Prachuap Khirikhan Provincial Cultural Office, the suggestion consisted of 4 strategies. The first strategy was the development of cultural capital in the era of information technology and innovation. The first strategy consisted of 2 strategies: strategy 1.1 the development of cultural knowledge and strategy 1.2 establishment of the knowledge management. The second strategy was consolidation of the cultural network. The second strategy included 2 strategies: strategy 2.1 expansion of cultural network focusing on local integration and strategy 2.2 promotion of the community role models. The third strategy was the systematic knowledge management. The third strategy consisted of strategy 3.1 administrative knowledge management and strategy 3.2 cultural knowledge management. The final strategy was potential improvement and promotion of the good relationship. The fourth strategy consisted of 2 strategies: strategy 4.1 motivation for improve the staff’s potential and strategy 4.2 promotion of human resource development for improving knowledge, skill and relationship of personnelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons