Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7724
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาจรีย์ แสงสิทธิศักดิ์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T03:18:22Z-
dc.date.available2023-07-14T03:18:22Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7724-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของแพทย์ประจำโรงพยาบาล (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการสั่งยารักษาโรคเบาหวาน ในกลุ่ม Dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor (3) ปัจจัยด้านแพทย์ที่มีต่อการสั่งยารักษาโรคเบาหวานในกลุ่ม Dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor ของแพทย์ประจำโรงพยาบาลในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจประชากรที่ใช้คือแพทย์ที่ทำงานเต็มเวลาให้กับโรงพยาบาลรัฐบาลและเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 70 คน เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลจากการศึกษาพบว่า (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ช่วงอายุ 41 - 50 ปี และปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลของรัฐบาล ในโรงพยาบาลที่มีขนาดจำนวนเตียง 301 – 450 เตียง จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานตรวจต่อสัปดาห์ คือ 51-100 คน จำนวนผู้ ป่วยที่จำเป็นต้องจ่ายยาลดระดับน้ำตาลในเลือดเพื่อรักษาต่อสัปดาห์คือ 10-20 รายต่อสัปดาห์ มีประสบการณ์ในการรักษา ผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ช่วงระยะเวลา 11 – 15 ปีไม่มีโอกาสในการจ่ายยาการจ่ายยาลดระดับน้ำตาลใน เลือดในคลินิกส่วนตัวหรืองานนอกเวลา มีส่วนร่วมในการตัดสินใจนำยาเบาหวานเข้าเป็นยาในบัญชี โรงพยาบาล (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการสั่งยารักษา โรคเบาหวาน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ในด้านผลิตภัณฑ์และด้านราคาอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านการจัดจำหน่าย อยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาอันดับความสำคัญปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการสั่งยาของแพทย์ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านการจัดจำหน่าย (3) ปัจจัยด้านแพทย์ที่มีความสำคัญ ต่อการสั่งยารักษาโรคเบาหวาน 3 ลำดับแรก ได้แก่ความพร้อมของแพทย์ในด้านความรู้เรื่องโรค เรื่องยา วิธีการรักษา ความชอบส่วนตัวของแพทย์อิทธิพลของเพื่อนแพทย์และทีมแพทย์ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเบาหวาน--การรักษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีต่อการสั่งยารักษาโรคเบาหวานในกลุ่ม Dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor ของแพทย์ประจำโรงพยาบาลในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting doctors of hospitals in Chiang Mai Province towards choosing a prescription in dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor class of oral antihyperglycemic agents groupen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study was to study (1) personal data of doctor of hospital in Chiang Mai (2) the marketing mix factor affecting the prescription of Dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor class of oral antihyperglycemic agents group (3) prescriber’s factor which affecting doctors of hospital in Chiang Mai district towards choosing a prescription in Dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor class of oral antihyperglycemic agents group. This study was the survey research. Research population was full-time doctors of public hospitals and private hospitals in Chiang Mai Province. The research sampling size was 70. Questionnaires were used as the research tool. Data were analyzed by the descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation. The findings presented that (1) most respondents were female, aged 41 – 50 years old and were affiliated with the state hospitals with 301 – 450 beds. The majority had experiences in inspecting and curing diabetes patients for 11-15 years. In a week, the average number of patient were found at 51 – 100 people and the number of those who needed to be prescribed for the drugs were 10 – 20 person per a week. The majority of the physicians were not have their own clinic. At work, they prescribed oral hypoglycemic agents and have the authority to enlist the oral hypoglycemic agents on the hospital’s medicine list. (2) The marketing mix factor which affecting the prescription of Dipeptidyl peptidase (DPP)-4 inhibitor class of oral antihyperglycemic agents group at high level were product and price while promotion and place were medium level. The priority of factors affecting the physicians, the first priority was product, the second was price, the third and the forth were promotion and place, respectively. (3) The top three of prescriber’s factor which affecting doctors of hospital in Chiang Mai district towards choosing a prescription in Dipeptidyl peptidase (DPP) - inhibitor class of oral antihyperglycemic agents group, were knowledge of doctor, personal preference and influence from colleague and teamworken_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150939.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons