Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุลth_TH
dc.contributor.authorบัณฑิตา แสงสิทธิศักดิ์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T03:46:28Z-
dc.date.available2023-07-14T03:46:28Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7735en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (3) พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรการศึกษาครั้งนี้ คือนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ จำนวน 299 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 205 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้ สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ช่วงอายุ 20 – 25 ปี ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 แหล่งเงินที่ใช้ซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมาจาก บิดา มารดา หรือ ผู้ปกครอง พักอาศัยในหอพักเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000 – 10,000 บาท ผู้ที่มีบทบาทในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคือ ตัวเอง (2) ระดับความสำคัญรายด้านของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพบว่า ปัจจัยราคามีความสำคัญระดับมากที่สุด รองลงมาคือปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านปัจจัยด้านช่องทางจำหน่าย และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด พบว่าทุกปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความสำคัญอยู่ในระดับมาก (3) มีการค้นข้อมูลก่อนการตัดสินใจซื้อจากอินเตอร์เน็ต ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่นิยมมากที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบำรุงสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 58.5 รูปแบบผลิตภัณฑ์ที่นิยมบริโภค คือรูปแบบเม็ด นิยมซื้อผลิตภัณฑ์จากร้านขายยา และมีวัตถุประสงค์การซื้อเพื่อรับประทานเอง ความถี่ของการซื้อ ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างซื้อ 1 ครั้งต่อเดือน มูลค่าการซื้อโดยเฉลี่ยต่อครั้ง คือ 501 – 1,000 บาท และให้เหตุผลสำคัญที่สุดในการตัดสินใจซื้อ คือคุณภาพของผลิตภัณฑ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอาหารเสริม--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting buying behavior decision of dietary supplement products of Pharmacy Faculty students in Payap University, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study personal factors of Pharmacy Faculty students in Payap University, Chiang Mai; (2) to study marketing mix factors affecting buying behavior decision of dietary supplement products; and (3) to investigate buying behavior of Pharmacy Faculty students in Payap University, Chiang Mai. This study was survey research. The population of this study was 299 Pharmacy Faculty students in Payap University, Chiang Mai. The sample of this study was 205 students who had purchased dietary supplement products. They were sampled by convenience sampling method. The questionnaire was used for data collection. The statistical method used in data analysis was the descriptive statistics; including frequency, percentage, mean, and standard deviation. Research findings were as follows: (1) Most respondents were female, aged between 20 -25 years old, had the average income of 5,000 -10,000 baht from parents, and lived in private dormitory. People who had influence on purchasing decision were themselves. (2) From the study of marketing mix factors affecting consumer buying decisions of dietary supplement products, the results showed that the respondents rated the importance of price at the highest level, followed by product, place and promotion factor at a high level respectively. (3) The respondents searched information from internet before they made the decision. The most favorite product was the health product which accounted for 58.5% of the total. The most favorite dosage form was tablets. They bought from drugstore, purchased the products one time every month. The average purchased value was 501 – 1,000 baht. The major reason for purchasing decision was the quality of products.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150974.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons