Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤติมา จันทร์นวล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T04:00:23Z-
dc.date.available2023-07-14T04:00:23Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7741-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาปัญหาการให้บริการออกใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบและไพ่ 2) ศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่อปัญหาการให้บริการออกใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และ ไพ่ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาการให้บริการ ออกใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ ของสํานักงานสรรพสามิต พื้นที่ระนอง สาขาเมืองระนอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรคือผู้ที่ได้รับใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ ในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานสรรพสามิตพื้นที่ระนอง สาขาเมืองระนอง จํานวน 3 อําเภอ 16 ตําบลจํานวน 2,264 ราย คํานวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 340 ราย ใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบ่งชั้นภูมิโดยใช้แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทีและค่าเอฟ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัญหาการให้บริการออกใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบและไพ่ที่สําคัญ คือ สํานักงานตั้งอยู่ในสถานที่ที่ห่างไกลยากต่อการเข้าถึง ป้ายบอกขั้นตอน/ระยะเวลาการให้บริการไม่ชัดเจน เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการเจ้าหน้าที่ประจําเคาน์เตอร์ไม่เพียงพอต่อผู้รับบริการมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด กระบวนการให้บริการ ไม่ได้รับหนังสือแจ้งการต่ออายุประจําปี (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่างกันมีความ คิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการให้บริการไม่แตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีสถานที่ตั้งร้านต่างกันมีความคิดเห็น เกี่ยวกับปัญหาการให้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) แนวทางการพัฒนาการ ให้บริการออกใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ ที่สําคัญ คือควรออกหน่วยให้บริการประชาชนที่อยู่ห่างไกลตาม ความเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่อยู่ในท้องถิ่น ควรเปิ ดช่องทางการรับชําระผ่านทางระบบ อินเตอร์เน็ต ควรจัดทําป้ายบอกขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ใช้รูปภาพประกอบ ควร เพิ่มจํานวนเจ้าหน้าที่ประจําเคาน์เตอร์ให้เพียงพอต่อผู้รับบริการ และควรเพิ่มช่องทางการแจ้งต่อใบอนุญาต ประจําปี โดยการแจ้งทางไปรษณีย์และส่งข้อความแจ้งเตือนทางโทรศัพท์ควบคู่กันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาการให้บริการออกใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ ของสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่ระนอง สาขาเมืองระนองth_TH
dc.title.alternativeThe development of licensing services for sale of liquor, tobacco, and cards of Excise Office of Ranong Area, Mueang Ranong Branchth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the problems of licensing services for sale of liquor, tobacco and cards (2) to compare personal factors affecting servicing problems of licensing services for sale of liquor, tobacco, and cards (3) to propose approaches for servicing development of licensing services for sale liquor, tobacco and cards of Excise Office of Ranong Area, Mueang Ranong Branch This study based on survey research. Population was 2,24 people who obtained licenses to sell liquor, tobacco and cards under the responsibility of the Excise Office of Ranong Area, Mueang Ranong Branch including three districts and sixteen Sub-District. The amount of 340 samples were calculated by using Taro Yamane formula with stratified random sampling. The instrument for collecting data were an interview form and a questionnaire. Data analysis by using frequency, percentage, mean, standard deviation, T- test and F-test. The results revealed that (1) main problems were office’s location is located in remote area and difficult to access, signboard and service time were unclear and the number of staff at the counter service were not sufficient. (2) personal factors in term of the different in gender, age, education, and income had indifferent opinion on licensing service with statistically significant at 0.05 level; and (3) approaches for quality servicing development of licensing services were the providing of more mobile service in remote area as appropriate and the integration of work with local authorities. The payment should be processed via internet. Signboard and service time should be clear and add images for easier understanding. Adequacy staff should be placed at the counter service. Renewal license service notification could be informed via both mail and messagesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159415.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons