Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพดล อุดมวิศวกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรรถพล แสนเรือง, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T04:13:00Z-
dc.date.available2023-07-14T04:13:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7745-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร (2) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร และ (3) นำเสนอแนวทางในการพัฒนาการบริหารจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ประชาชนผู้ที่มีหน้าที่เข้าข่ายยื่นเสียภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จำนวน 6,542 คน กลุ่มตัวอย่าง 377 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทบสอบค่าทีและค่าเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ประชากรในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ เจ้าหน้าที่จัดเก็บภาษีท้องถิ่น สำนักงานเขตราษฎร์ บูรณะ กรุงเทพมหานคร จำนวน 7 คน สำหรับวิเคราะห์ เพื่อนำเสนอแนวทาง ในการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ คือ เจ้าหน้าที่มีจำนวนไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานขาดการประชาสัมพันธ์ ประชาชนไม่ทราบหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่กำหนดในการยื่นแบบและชำระภาษี ประชาชนขาดการมีส่วนร่วมไม่เห็นถึงความสำคัญของการยื่นเสียภาษีท้องถิ่น ระบบแผนที่ภาษี เทคโนโลยีสารสนเทศไม่มีความทันสมัย (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ คือ ปัจจัยด้านเจ้าหน้าที่ ปัจจัยด้านสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ ปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วม ปัจจัยด้านแผนที่ภาษี และปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) แนวทางในการพัฒนาการบริหารจัดเก็บภาษี ท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ คือ การประชาสัมพันธ์ในเชิงรุก เพื่อให้ประชาชนทราบถึงหลักเกณฑ์ ขั้นตอนระยะเวลาของการยื่นเสียภาษีท้องถิ่นอย่างชัดเจน การให้บริการนอกสถานที่ถึงสถานประกอบการ การปรับปรุงจัดทำแผนที่ภาษี เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพยิงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.subjectภาษีบำรุงท้องที่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe development of local tax collection administration in the Office of Ratburana District, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) study problems and obstacles in the development of local tax collection administration of the office of Ratburana District, Bangkok (2) analyze key success factors affecting the development of local tax collection administration of the office of Ratburana District, Bangkok and (3) recommend guidelines to develop the local tax collection administration of the office of Ratburana District, Bangkok. This research was a mixed method of quantitative and qualitative research. Population for quantitative research was 6,542 people who were within the scope of filing local tax at the office of Ratburana District. The sample consisted of 377 people using stratified random sampling. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and f-test, ANOVA, correlation coefficient of of Pearson. Population for qualitative research was collected the data from 7 local tax collection officers of the office of Ratburana District. The major data collected was guidelines to develop local tax collection administration of the office of Ratburana District, Bangkok. The research results showed that (1) problems and obstacles in the development of local tax collection administration of the office of Ratburana District, Bangkok were that the insufficient number of officers, the limit of public relations, the unknown of people regarding criteria and period of time for filing and paying taxes, lack of people participation and the consideration of people regarding local tax filings, tax map system, information technology out of date were not important (2) the factors that affecting to the success development of local tax collection administration in the office of Ratburana District were officers factor, location factor, materials factor, public relations factors, participation factor, tax map factor and information technology factor (3) guidelines to develop local tax collection administration of the office of Ratburana District were that there should have proactive public relations to clearly acknowledge criteria, procedure and period for tax filings, providing on-site service and lastly, develop tax map for the benefit of more efficient local tax collectionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150995.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons