Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7753
Title: | ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา |
Other Titles: | Services marketing mix factors affecting decision to choose tutorial secondary school in Mueang Songkhla District, Songkhla Province |
Authors: | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ สมยศ กิตติกูลไพศาล, 2525- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี โรงเรียนกวดวิชา--การตลาด การตัดสินใจ การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ |
Issue Date: | 2555 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการท ี่ใช้ในการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (2) เปรียบเทียบระดับการตัดสินใจในปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ใช้ในการเลือกโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมืองสงขลา จังหวดสงขลา จําแนกตามลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใชในการศึกษาคือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง สงขลาจังหวดสงขลา จํานวน 5,194 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางตามทัศนะของเคร็จชี และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 361 คน ใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยมีค่า ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.951 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่าางให้ความสําคัญกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด การบริการในภาพรวมอยในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ปัจจัยดัานบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ทางกายภาพมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด และทุกปัจจัยมีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก (2) นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเพศ ระดับช้ันที่กําลังศึกษา แผนการเรียน ระดับผลการเรียน โรงเรียนที่กำลังศึกษาอาชีพของผู้ปกครอง และรายได้ต่อเดือนของผู้ปกครองแตกต่างกัน ตัดสินใจใช้ ส่วนประสมทางการบริการของโรงเรียนกวดวิชาแตกต่างกันอย่่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเขตที่พักอาศยแตกต่างกัน ตัดสินใจใช้ส่วนประสมทางการบริการของโรงเรียนกวดวิชาไม่แตกต่างกัน |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7753 |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130061.pdf | 13.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License