Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเขมมิกา สรรเสริญ, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T04:41:05Z-
dc.date.available2023-07-14T04:41:05Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7754-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยจูงใจ ปัจจัยสุขวิทยาและปัจจัยองค์กรของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร (3) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร (5) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยองค์กรกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร 24 แห่ง รวมจำนวนทั้งสิ้น 15,604 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณด้วยสูตรทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยจูงใจ และปัจจัยสุขวิทยาของพนักงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ส่วนปัจจัยองค์กร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (3) พนักงานที่มีเพศ อายุ รายได้ต่อเดือน ตำแหน่งงานที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ส่วนพนักงานที่มีระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานไม่แตกต่างกัน (4) ปัจจัยจูงใจมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานอยู่ในระดับสูงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 (5) ปัจจัยองค์กรมีความสัมพันธ์ไปในทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานอยู่ในระดับค่อนข้างสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors relating quality of working life of staff in life insurance company in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to study (1) an opinion level relating the motivation factors, hygiene factors, and organizational factors of the life insurance company’s staffs in Bangkok; (2) an opinion level relating the quality of working life of the life insurance company’s staffs in Bangkok ; (3) a comparison on an opinion level relating the quality of working life of the life insurance company’s staffs in Bangkok, classified by personal factors; (4) a relationship between motivation factors and quality of working life of the life insurance company’s staffs in Bangkok; and (5) a relationship between organizational factors and quality of working life of the life insurance company’s staffs in Bangkok. This study is a survey research. The populations was 15,604 staffs who work in the 24 life insurance companies in Bangkok. The sample was determined by using Taro Yamane’s Formula, and the sample size of 400 persons were chosen through convenience random sampling. A questionnaire was used as an instrument for data collection. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA, and Pearson Product-Moment Correlation Coefficient. The finding revealed that (1) the opinion level relating the overall motivation factors and hygiene factors of the staffs was at a high level respectively. The opinion level relating the overall organizational factors was at a high level. (2) The opinion level relating the overall quality of working life of staffs was at a moderate level. (3) The staffs with different gender, age, monthly income, and position had the different opinion level relating the quality of working life at a statistical significance level of 0.05. The staffs with different educational level, marriage status, and operating duration had no different opinion level relating the quality of working life of staff. (4) The motivation factors were positively related to the quality of working life of staff at a very high level, at a statistical significance level of 0.01. (5) The organizational factors were positively related to the quality of working life of staff at a quite high level, at a statistical significance level of 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons