Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรัชญา กลีบจงกล, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T07:15:31Z-
dc.date.available2023-07-14T07:15:31Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7776-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการ ดำเนินงานของบุคลากร(2) ระดับประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ มีผลต่อประสิทธิภาพกับประสิทธิภาพการดำเนินงาน (4) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากรจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอบ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานส่วนตำบลในอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี จำนวน270คนกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน161คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถามแบบลิเคิร์ทซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 95% สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนแบบสองทาง การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีแอลเอสดีและการทดสอบสัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากร อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือ ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน และความมั่นคงในการปฏิบัติงานตามลำดับ (2) ประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากร อยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความประหยัดคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านความสะดวกในการให้บริการ ความถูกต้องและรวดเร็วของการดำเนินงาน และความพึงพอใจในการให้บริการ ประชาชนตามลำดับ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานทุกด้านมีความสัมพันธ์เชิงบวกใน ระดับปานกลางกับประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดำเนินงานตามลักษณะส่วนบุคคลพบว่ามีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ เพศ รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ส่วนอายุ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษาไม่มีความแตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--เพชรบุรีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหารงานบุคคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอบ้านลาดจังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting employees work efficiency Factors affecting employees work efficiency in sub district administrative organization, District banlad, Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) Factors affecting the efficiency of human resources (2) Quality the operation of the Personnel. (3) The relationship between factors that affect performance and operational efficiency. (4) Compare Work Simplification of Personnel inSub District Administrative Organization , Amphoe Banlad , Phetchaburi Province dividing by characteristics. Population in this study were comprised of 270 Office workers of Sub District Administrative Organization, Amphoe Banlad, Phetchaburi Province. Specified samples by Taro Yamane ‘s formula into 161 samples. The descriptive statistics used for analyze data were percentage , mean , standard deviation, T-test , Two way ANOVA, Least Significant Difference , Pearson ' s Correlation Coefficient test. The study revealed that (1) Factors that affect the performance of the personnel. At a high level. When considering the relationship with co-workers found that the highest mean, followed. Morale and performance. Performance characteristics. Advances in regular jobs. And stability operations, respectively. (2) Performance of personnel. At a high level. Considering it was also found that The economic value of the resource. The mean maximum The second is the ease of service. The accuracy and speed of operation. And satisfaction with public services, respectively. (3) Factors that affect performance are positively correlated with the level of performance in the operation of the crew in Tambon Ban Lat District, Phetchaburi Province. Statistically significant at the 0.05 level. (4) Compared to the implementation of the personal characteristics that are different at the significance level of 0.05 were sex, income per month. The period of performance age, marital status and educational level were not significantly different.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129167.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons