Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7791
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิรินภา ก้อนธิมา, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T08:12:50Z-
dc.date.available2023-07-14T08:12:50Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7791-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นเชียงใหม่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นเชียงใหม่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาไทย 3 คน ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลหางดง (ประชาคมสร้างสรรค์) อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นเชียงใหม่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (2) แบบตรวจสอบคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ และ (3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นเชียงใหม่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วย บทเรียนจำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจังหวัดเชียงใหม่ คำศัพท์หมวดเครือญาติ คำศัพท์หมวดสิ่งของเครื่องใช้ คำศัพท์หมวดผักและผลไม้ และคำศัพท์หมวดสัตว์ โดยแต่ละบทมีจุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมท้ายเรื่อง รวมทั้งแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (2) คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น จากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ทั้งด้านเนื้อหา ด้านเทคโนโลยี มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาถิ่น--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นเชียงใหม่ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe development of a computer-assisted instruction on Chiang Mai Local Language for Prathom Suksa VI students in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a computer-assisted instruction program on the topic of Chiang Mai Local Language for Prathom Suksa VI students; and (2) to verify the quality of the developed computer-assisted instruction program on the topic of Chiang Mai Local Language for Prathom Suksa VI students. The key research informants were three experts on Thai language teaching, three experts on technology, and a group of 10 Prathom Suksa VI students of Tessaban Hang Dong (Prachakhom Sangsan) School in Hang Dong district, Chiang Mai province. Research tools comprised (1) a computer-assisted instruction program on the topic of Chiang Mai Local Language for Prathom Suksa VI students; (2) a quality verification form for the computer assisted instruction program to be used by the experts; and (3) a form for assessment of student’s satisfaction with the computer-assisted instruction program. Data were statistically analyzed using the mean and standard deviation. Research findings showed that (1) the developed computer-assisted instruction program on the topic of Chiang Mai Local Language for Prathom Suksa VI students contained five lessons: General Knowledge about Chiang Mai Province; Vocabulary for Kinship; Vocabulary for Things and Appliances; Vocabulary for Vegetables and Fruits; and Vocabulary for Animals; each lesson had learning objectives, end-of-lesson activities, and a learning achievement test for pre-testing and post-testing; and (2) from the evaluation by the experts, quality of the developed computer-assisted instruction program in terms of the content and technology was at the highest level. In addition, the students' satisfaction with learning from the developed computer-assisted instruction program was at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม32.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons