Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7793
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวภา มีถาวรกุล | th_TH |
dc.contributor.author | โกมุทร์ ศรีผำน้อย, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T08:13:42Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T08:13:42Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7793 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขต อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ใช้ในการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุง (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา และ (4) การเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการซื้อข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเก็บข้อมูลโดยการสุ่มตัวอย่างแบบไม่่ใช้ความน่าจะเป็นและ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญกับผู้ที่เคยซื้อข้าวสารบรรจุถุงเพื่อบริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคส์แควร์ ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และทดสอบ ความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการซื้อพบว่าชนิดของพันธ์ข้าวสารที่ซื่อคือ ข้าวหอมมะลิ 100% ซื้อกิโลกรัมละ 36- 40 บาท ซื้อแบบไม่เจาะจง เหตุผลที่ซื้อคือรสชาติดี นุ่ม หอม ซื้อ 1 ถุงต่อครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง ซื้อที่ร้านค้าปลีก (บิ๊กซี,โลตัส) ตัดสินใจซื้อด้วยตนเอง สื่อโฆษณาที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ คือ โทรทัศน์ (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดอยูในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสะอาดปลอดภัย ราคาถูก กว่าคู่แข่งขันและแหล่งจำหน่ายมีสินค้าให้เลือกหลายประเภท (3) การทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ จำนวนสมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์กับลักษณะการตัดสินใจซื้อตราสินค้า และไม่มีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการซื้อ ตราสินค้าที่ซื้อ และความถี่ในการซื้อ (4) การทดสอบความแตกต่างของพฤติกรรมการซื้อพบว่า พฤติกรรมการซื้อที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนรายด้านพบว่า ด้านชนิดพันธ์ุข้าวสารที่ซื้อมีผลต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านราคา และด้านตราสินค้าของข้าวสารที่เคยซื้อมีผลต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | th_TH |
dc.subject | ข้าว | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การตลาด | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการซื้อข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Consumer buying behavior of packed rice in Muang District, Nakonratchasima Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study: (1) buying behavior of consumers on buying packed rice in Muang District, Nakonratchasima Province; (2) the important level of marketing factors of consumer’s buying decision of packed rice; (3) the relationship between personal factors and buying behavior of packed rice; and (4) the comparison of differences of consumers’ behavior on buying packed rice. This study was a survey research. The data were collected by method of non-probability sampling. The 400 samples who used to buy the packed rice and live in Muang District, Nakonratchasima Province were selected by the method of accidental sampling. The questionnaire was used as an instrument for this study. The statistical analysis used were frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, t-test, ANOVA and Scheffe’s method. The result of the study showed that (1) consumer buying behavior of packed rice were that the respondents bought jasmine rice, price between 36-40 baht per kilogram, and purchased no specific brand. The reasons for buying packed rice were its taste, tenderness, and fragrance. They bought one pack per time, once per month, from major retail stores (Big C, Lotus). They decided to buy by themselves and television was the most important media affecting their buying decision. (2) The important level of marketing factors of consumers were at a high level including cleanness and safety, cheaper price and the stores with various goods. (3) The study of the relationship between personal factors and buying behavior of packed revealed that gender, age, education, occupation, income and size of family were related to brand buying decision but not related to buying reasons, purchased brand and buying frequency. (4) To compare the differences of consumers’ behavior on buying packed rice, the results showed no difference of buying behavior on marketing factors. When considering each aspect, the type of rice breed affected the rice price and brand of packed rice had an effect on rice product. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_151732.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License