Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิไล สารประดิษฐ์, 2508-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-15T07:10:25Z-
dc.date.available2023-07-15T07:10:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7812-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสํานักงานศาลยุติธรรมในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรเกียวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรมในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จําแนกตามพื้นที่และปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา และแนวทางในการปรับปรุงการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรม ข้าราชการศาลยุติธรรม ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากร ของสำนักงานศาลยุติธรรมในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จำนวน 135 คน คำนวณโดยสูตรของยามาเน่ จากประชากรจำนวน 205 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบ ค่าเอฟ และวิเคราะห์รายคู่ด้วยวิธีของเซฟเฟ่ ผลการศึกษา พบว่า (1) ความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรมในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ การประเมินสมรรถนะ (2) บุคลากรสำนักงาน ศาลยุติธรรมใน เขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานครที่อยู่ในพื้นที่ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ไม่แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าบุคลากรต่างประเภทกัน มีความคิดเห็นต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกนั้นไม่แตกต่าง (3) ความ คิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาพบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยปัญหาสำคัญได้แก่ ผู้ประเมินกำหนดมาตรฐาน ในการปฏิบัติงานไว้สูงเกินไป มาตรวัดสมรรถนะของแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน ผู้ประเมินไม่รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้รับการประเมิน ข้อเสนอแนะสำคัญ ได้แก่ ควรกำหนดมาตรฐานงานที่เป็นธรรมและชัดเจน มาตรวัดควรที่มีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกันควรนำสมรรถนะในงานของแต่ละตำแหน่งมาประกอบในการประเมินสมรรถนะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในการพัฒนาระบบ การประเมิน และควรจัดให้มีการให้ข้อมูลย้อนกลับที่มีความสมบูรณ์และทันเวลาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากร--การประเมินth_TH
dc.subjectบุคลากรทางกระบวนการยุติธรรม--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรมในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeOpinions of the officials on performance appraisal of the offices of court of justice in Bangkok Vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the opinions of the officials on performance appraisal of the Offices of Court of Justice in Bangkok vicinity (2) compare the opinions on performance appraisal of the Offices of Court of Justice in Bangkok vicinity classified by areas and personal factors (3) study the opinions on problems and recommend appropriate approaches to improve performance appraisal of the Offices of Court of Justice in Bangkok vicinity. This was a survey research. Samples of 135 officials of the Offices of Court of Justice in Bangkok vicinity were obtained from population 0f 205 via Yamane calculation. Accidental sampling method was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed included frequency , percentage, mean, standard deviation , ttest, F- test and Sheffe. Research results revealed that: (1) opinions of the officials on performance appraisal of the Offices of Court of Justice in Bangkok vicinity, in the overall view, were at high level, with the highest mean on competency assessment (2) when compared the opinions by areas, no differences were found among opinions of those in offices in different areas, however, when compared by personal factors, different types of officials had different opinions with 0.05 level of statistical significance (3) opinions on problems were in high level, major problems included standards of operation employed in the appraisal were too high, each offices used different criteria in the evaluation, also, suggestions of those who were evaluated had not been listened to; major recommendations were: standards of operation should be fair and clear, Offices of Court of Justice in Bangkok vicinity should used same appraisal criteria, competencies of each different jobs should be brought in for competency appraisal, the management and staff should be encouraged to participate in appraisal system developing, moreover, complete feedback on performance should be given to all personnel in appropriate timeen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_144701.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons