Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกรth_TH
dc.contributor.authorณัฐวดี ดาวเรือง, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-16T05:58:39Z-
dc.date.available2023-07-16T05:58:39Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7823en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ใช้จานดาวเทียม พีเอสไอ ทรูวิชั่นส์ ในจังหวัดนนทบุรี (2) ระดับการคาดหวังที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผู้ใช้จานดาวเทียม พีเอสไอ ทรูวิชั่นส์ ในจังหวัดนนทบุรี และ (3) ระดับการรับรู้ที่มีต่อ ปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผู้ใช้จานดาวเทียม พีเอสไอ ทรูวิชั่นส์ในจังหวัดนนทบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ที่เคยใช้ จานดาวเทียม พีเอสไอ ทรูวิชั่นส์ ในจังหวัดนนทบุรีที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยมีความเชื่อมั่น 95% จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 25-35 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อ เดือน 15,001- 25,000 บาท การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับจ้าง/พนักงานเอกชน จำนวนสมาชิก ครอบครัว 1-3 คน ชมรายการโดยเฉลี่ย 3-6 ชั่วโมงต่อวัน (2) ระดับการคาดหวังที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านบุคคลมีการ คาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุด โดยพนักงานมีความชำนาญในการซ่อมบำรุงหรือแก้ไขปัญหา รองลงมา ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ด้านการจัดจำหน่าย ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริม การตลาด ด้านบริการ และด้านราคา และ (3) ระดับการรับรู้ ที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านบุคคลมีการรับรู้ อยู่ในระดับมาก ที่สุด โดยพนักงานยินดีและเต็มใจให้บริการ รองลงมา ได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้าน ผลิตภัณฑ์ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบริการ และด้านราคาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectจานดาวเทียมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleการคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้จานดาวเทียมพีเอสไอ ทรูวิชั่นส์ในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeCustomer expectation and perception of using PSI true vistion Satellite in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study personal factors of PSI True Vision Satellite Users in Nonthaburi Province; (2) to study customer expectation toward marketing mix factors of PSI True Vision Satellite in Nonthaburi Province; and (3) to study customer perception toward marketing mix factors of PSI True Vision Satellite in Nonthaburi Province. This study was a survey research. Population was users of PSI True Vision Satellite in Nonthaburi Province. Sample size was calculated at level of validity of 95%, to be400 samples and employed convenience sampling method. Research instrument for data collection was a questionnaire. Descriptive statistical analysis employed frequency, percentage, mean and standard deviation. The results suggested that: (1) most of samples were male, 25-35 years old, average monthly income between 15,001-25,000 bath, graduated with bachelor degree, worked as private employees, having 1-3 members in a family and watching TV program about 3-6 hrs., a day; (2) overall customer expectation toward marketing mix factors was at high level. Considering each aspect, service provider was expected at the highest level. Service competence in maintenance and problem solving, following by product, distribution, physical evidence, marketing promotion, service and price aspects were rated consecutively; and (3) customer perception toward marketing mix factors was rated at high level. Considering each aspect, service provider was rated at the highest perceived level. The service willingness, following by physical evidence, product, distribution, marketing promotion, services and price aspects were rated consecutively.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_145883.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons