กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7824
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จําเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | เพชรพิกุล เหลาทอง, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-16T06:13:27Z | - |
dc.date.available | 2023-07-16T06:13:27Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7824 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและ (3) ระบุปัญหาและเสนอแนะแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จํานวน 228 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจํานวน 145 คน โดยการใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วนใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า เพศ อายุ สถานภาพสมรสระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ตําแหน่งงาน และระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทํางานไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหาของคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข คือ สถานที่ทํางานคับแคบและอุปกรณ์สํานักงานมีสภาพเก่า ปริมาณงานมากและเร่งด่วน แต่หน่วยงานไม่มีล่วงเวลาการ ปฏิบัติราชการให้และไม่มีการเปิดสอบภายในเพื่อให้บุคลากรผู้มีวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้นสามารถสอบเปลี่ยนตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นได้ ข้อเสนอแนะ ควรส่งเสริมให้มีการจัดทํา 5 ส. ทุกเดือน ควรเบิกค่าล่วงเวลาการปฏิบัติราชการนอกเวลาราชการในกรณีที่มีปริมาณงานมาก และเร่งด่วน และควรจัดให้มีการจัดทําแผนเส้นทางอาชีพและส่งเสริมให้บุคลากรภายในหน่วยงานมีโอกาสสอบเลื่อนตําแหน่งที่สูงขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข--พนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | th_TH |
dc.title.alternative | Quality of working life of personnel in the Personnel Administration, Office of Permanent Secretary of the Ministry of Public Health | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study quality of working life of personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health; (2) to compare quality of working life of personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health classified by personal factors; and (3) to identify problems and recommend development guidelines for personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health. Population was 228 personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health. A total of 145 samples applied Taro Yamane formula calculated at level of validity of 95% and employed proportional stratified random sampling. Research instrument used a questionnaire. Statistical analysis included of percentage, frequency, mean, standard deviation and one-way ANOVA. The results revealed that: (1) an overall view of quality of working life of personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health was at medium level; (2) comparison of quality of working life of personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health classified by personal factors, it was found that differences in gender, age, marital status, educational background, average income, work positionand duration of workdid not affect the differences in quality of working life; and (3 ) problems of quality of working life of personnel in the Personnel Administration Division, Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health were limitation of working space, old instruments, over and hurriedly workload and no internal examination to give an opportunity for higher educated personnel to get higher promotion. Recommendations were; there should boost big cleaning day activity every month, the Office should pay overtime payment in case of over and hurriedly workload, the Office should organize internal examinationfor higher educated personnel to get higher promotion. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext 145918.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.74 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License