Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันเพ็ญ เจริญสุข, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T01:13:59Z-
dc.date.available2023-07-17T01:13:59Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7838-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจของพนักงานเรื่อง การแปลงสภาพ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) เป็น บ.ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท.) (2) ศึกษาทัศนคติต่อการเปลี่ยนสถานภาพจากพนักงานของรัฐเป็นพนักงานบริษัทจำกัด (3) เพี่อเสนอ แนะแนวทางในการเสริมสร้างทัศนคติของพนักงานในเรื่องการแปลงสภาพ ในการวิจัยใช้วิธีการสำรวจกสุ่มตัวอย่างพนักงานที่ทำการไปรษณีย์ในเขตพื้นที่ภาค ตะวันออกจำนวน 250 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 488 คน โดยใช้แบบสอบถามและรวบรวม นำมาวิเคราะห์ประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS ใช้สถิติในการวิจัยเชิงพรรณนา คือ ค่าเฉลี่ย ค่ารัอยละ และสถิติเชิงอนุมาน คือ การทดสอบแบบที แบบเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว การเปรียบเทียบพหุคูณตามวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงสภาพในระดับ ปานกลาง (2) ทัศนคติต่อการเปลี่ยนสถานภาพจากพนักงานของรัฐมาเป็นพนักงานบริษัทจำกัด อยู่ในระดับตํ่า (X = 2.59) โดยเฉพาะด้านการได้รับการยอมรับจากสังคม (3) ภมิหลังที่แตกต่างกัน ของพนักงานไม่มีผลต่อทัศนคติต่อการแปลงสภาพในภาพรวม แต่วิเคราะห์รายด้านพบว่า ความ แตกต่างกันของพนักงานที่มี ระดับการศึกษา อายุงาน ระดับตำแหน่ง และ อัตราเงินเดือนที่ต่างกัน มีทัศนคติต่อการแปลงสภาพที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ระดับความรู้ ความเข้าใจที่แตกต่างกันของพนักงานไม่มีผลต่อทัศนคติการแปลงสภาพของพนักงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.288en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทไปรษณีย์ไทยth_TH
dc.subjectพนักงานการสื่อสารแห่งประเทศไทย -- ทัศนคติth_TH
dc.titleทัศนคติของพนักงานการสื่อสารแห่งประเทศไทยต่อการแปลงสภาพเป็นบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด : ศึกษากรณีที่ทำการไปรษณีย์ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeAn attude of the communications authority of Thailand's employees toward privatization of Thailand post company limited : a case study of Eastern Post Office Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the level of knowledge and understanding of privatization of The Communications Authority of Thailand (CAT) to Thailand Post Company Limited (THP); (2) study attitudes to changing status in government officials and non-govemment officials; and (3) to give suggestions to enhance the attitude of the employees towards privatization The sample population was 488 employees of Eastern Post Office Region. The sample consisted of250 employees using stratified random sampling. Data were collected by using the questionnaires and analyzed by using SPSS/PC* computer program. Statistical tools employed for data analysis wjerc percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, One-way ANOVA and LSD. The results of these analyzes showed that (1) employees had knowledge and understanding of privatization at a moderate level; (2) an attitude in respect to changed status was at a low level, especially in terms of social acceptance; (3) different personal factors did not influence general attitudes of the employees but some factors, i.c educational level, years of experience, position and salary were found to be significantly different at the 0.05 level; and (4) different levels of knowledge and understanding toward privatization did not influence the attitudes of the officialsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
81299.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons