Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์th_TH
dc.contributor.authorสุเมธ รักเดชth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T04:35:26Z-
dc.date.available2023-07-17T04:35:26Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7847en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการรับรู้การบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืนของพนักงาน (2) ระดับหลักอุปนิสัยของพนักงานในการเป็นพนักงานสำนักงาน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืนกับหลักอุปนิสัยของพนักงาน การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ พนักงานในสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคกลาง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 2,705 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรทาโรยามาเน่ ได้ 350 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสอบถาม ค่าสถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ ทดสอบสมมติฐาน ด้วยค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) การรับรู้การบริหารจัดการสำนักงานสีเขียว ด้านการรับรู้ต่อการนำนโยบายสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการปฏิบัติงานหรือการมีส่วนร่วม ส่วนด้านทัศนคติต่อการนำนโยบายสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืนอยู่ในระดับน้อยที่สุด (2) หลักอุปนิสัยของพนักงานในการเป็นพนักงานสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืน พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการปฏิเสธวัตถุดิบที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือไม่สอดคล้องตามใบเสนอราคา ไม่รับสินค้าและแจ้งกลับไปยังผู้ขายทันที การลดการใช้กระดาษด้วย Soft file แทนการส่งแฟกซ์ ใช้ผ้าเช็ดมือแทนกระดาษ ใช้บันไดแทนลิฟท์ อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านการนำวัสดุใช้แล้วกลับมาเวียนใช้หรือนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ อยู่ในระดับน้อยที่สุด (3) การรับรู้การบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืนไม่มีความสัมพันธ์กับหลักอุปนิสัยของพนักงานในการเป็นพนักงานสำนักงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดการสำนักงาน--แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการรับรู้การบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวแบบยั่งยืนของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 1 (ภาคกลาง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeEmployee perception of sustainable green office management of Provincial Electricity Authority Region 1 (Central Region) Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study the perception level of sustainable green office management of employees, 2) to study the principal characteristics of employees towards sustainable green offices, and 3) to study the relationship between the perception level of sustainable green office management and the principle characteristics of employees of Provincial Electricity Authority, District 1 ( Central Region), Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, Thailand. This study was a survey research. The population was 2,705 employees of Provincial Electricity Authority Office, Region 1 (Central Region), Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, Thailand. The sample size was calculated by Taro Yamane Formula as a total of 350 samples, using simple sampling method. A questionnaire was used as a tool for data collection. Statistical data analysis employed were Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and T-test One-way-Anova and Multiple regression. The results of the study were as follows (1) employee perception level of the sustainable green office policy implementation was at the highest level, followed by the operations or participation and the lowest level was the attitude towards the application of green office policy. (2) The overall principal characteristics of employees towards sustainable green offices, were at a high level. When considering in each aspect found that the highest level was rejection the materials that are not environmentally friendly or not in accordance with the quotation, no receipt the product and notification the seller immediately, reduction paper use with soft file instead of faxing, usage a hand towel instead of paper, and usage stairs instead of elevators. The aspect with the lowest level was recycling the used materials. (4) The relationship between perception of sustainable green office management and principle characteristics of the employees was not related significantly.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161275.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons