Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรวัฒน์ เมธาสุทธิรัตน์th_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ นันกดth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T06:54:23Z-
dc.date.available2023-07-17T06:54:23Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7859en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสีย ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของเทศบาลนครลำปาง (2) ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของเทศบาลนครลำปาง (3) แนวทางในการพัฒนาการบริการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของเทศบาลนครลำปาง ผลการศึกษาพบว่า (1) การบริการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของเทศบาลนครลำปางได้มีการดำเนินการที่สำคัญ คือ การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาน้ำเสีย การค้นหาแนวทางในการแก้ปัญหาน้ำเสีย การกำหนดแผนงานและโครงการในการแก้ไขปัญหา การดำเนินก่อสร้างบ่อบำบัดน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น และติดตามผลการบำบัดน้ำเสีย โดยรูปแบบการบำบัดน้ำเสียปลายท่อแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น มีกระบวนการหลัก 5 ขั้นตอน คือ การบำบัดแบบกายภาพ การบำบัดแบบเคมี การบำบัดแบบชีวเคมี การเติมอากาศ และใช้วัสดุช่วยดูดซับกลิ่น (2) ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการบริการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ ผู้บริหารให้ความสำคัญในการจัดบริการสาธารณะ การบริหารงานยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง บุคลากรมีการทำงานเป็นทีม มีความรู้ ความสามารถ เทศบาลนครลำปางมีการกำหนดปัญหาน้ำเสียไว้ในแผนอย่างชัดเจน และประชาชนในพื้นที่ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา (3) แนวทางในการพัฒนาการบริการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ เทศบาลนครลำปางมีการดูแลรักษาบ่อบำบัดอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาต่อยอดไปยังพื้นที่อื่น มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญและสามารถเข้าถึงได้ทุกพื้นที่ มีการประสานการมีส่วนร่วม และมีการติดตามประเมินผลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการสาธารณะ--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectการกำจัดน้ำเสีย--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการกำจัดน้ำเสีย--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริการสาธารณะด้านการจัดการน้ำเสียด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของเทศบาลนครลำปางth_TH
dc.title.alternativePublic service in waste water management with local wisdom of Lampang Municipalityth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) public service in waste water management with local wisdom of Lampang Municipality (2) success factors of public service in waste water management with local wisdom of Lampang Municipality, and (3) guidelines for development of public service in waste water management with local wisdom of Lampang Municipality. This study was a qualitative research using in-depth interview from six informants such as executives and officers of Lampang Municipality who have been involved with waste water management with local wisdom and included six people who resided at the location of waste water treatment well which had end of the pipe made with local wisdom type. The data was collected from the relevant documents. Research instrument was a structured-interview form. Data analysis used content analysis method. The findings of this studying indicated that (1) an important implementation of public service in waste water management with local wisdom of Lampang Municipality was an analytical study of the waste water problem situation, the propose of solution guidelines of waste water problem, the formulation of waste water problem solution plans and projects, the construction of waste water treatment well which had end of the pipe made with local wisdom type. The five steps of the procedure comprised of physical treatment, chemical treatment, biochemistry treatment, aeration, use of smell adsorption-aided material; (2) the success factors of public service in waste water management with local wisdom were the executives gave precedence on public service provision, people-centered management, team working with knowledge and competence, clear determination plan for waste water problem, and people’s participation, (3) the guidelines for public service development in waste water management with local wisdom were that there should continue the maintenance of the waste water treatment well by Lampang Municipality, and extend to other areas, develop the personnel to be expert and accessible to every area, strengthen the cooperation, monitoring and evaluation.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161299.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons