Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7871
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ เนียรสันเทียะ, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T07:31:07Z-
dc.date.available2023-07-17T07:31:07Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7871-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการรับรู้ความเสี่ยงของระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี 2) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีของระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี 3) ระดับความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี 4) ปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยงที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และ 5) ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษา คือ ผู้ประกอบการในจังหวัดชลบุรี ที่ใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอแครน ได้จำนวน 400 ตัวอย่าง เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับการรับรู้ความเสี่ยงของระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับปานกลาง 2) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีของระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับปานกลาง 3) ระดับความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับปานกลาง 4) ปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยงมีอิทธิพลทางบวกต่อความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี คิดเป็นร้อยละ 82.70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 5) ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยี ด้านการรับรู้ถึงคุณประโยชน์ และด้านการรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน มีอิทธิพลทางบวกต่อความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี คิดเป็นร้อยละ 74.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชำระภาษี--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้ระบบการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากรในพื้นที่จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing intention to use customs department’s electronic tax payment system in the area of Chonburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study are to study: 1) the level of risk perception on electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province; 2) the level of technology adoption on electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province; 3) the level of intention to use electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province; 4) risk perception factors influencing intention to use electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province; and 5) technology adoption factors influencing intention to use electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province. This study was a quantitative research. The population in the study was entrepreneurs in Chonburi Province who use electronic tax payment system of the Customs Department. The sample size was calculated by the Cochran's formula and obtained 400 samples. An instrument for data collection was a questionnaire. The statistics applied for data analysis included Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and Multiple Regression Analysis. The result of study was found that 1) the level of risk perception on electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province was at a moderate level. 2) The level of technology adopting on electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province is at a moderate level. 3) The level of intention to use electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province was at a moderate level. 4) Risk perception factors positively influencing intention to use electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province was accounted for 82.70%, with statistical significance at the level of 0.05. and 5) Technology adoption factors in terms of benefit perception and user-friendliness perception positively influencing the intention to use electronic tax payment system of Customs Department in Chonburi Province was accounted for 74.50% with statistical significance at the level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons