Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorอภิรัต ทองประดิษฐ์, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T03:25:31Z-
dc.date.available2022-08-20T03:25:31Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/787en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบ วิธีการและลักษณะของงานที่รับไปทำที่บ้าน รวมถึงการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านของประไทย 2) เพื่อวิเคราะห์คุ้มครองและสวัสดิการด้านแรงงาน รวมถึงสิทธิประโยชน์ที่ผู้รับงานไปทำที่บ้านควรได้รับ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวกับการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน 4) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน 5) เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวกับผู้รับงานไปทําที่บ้าน วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเอกสารทางกฎหมาย (Legal Research) โดยการรวบรวมการค้นคว้าจากตำราทางวิชาการ บทความ ตัวบทกฎหมาย สิ่งพิมพ์ต่างๆ ทั้งภาษาไทยและต่างประเทศโดยใช้วิธีวิเคราะห์ตัวบทกฎหมาย รวมถึงมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศจากอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 177 ค.ศ. 1996 ข้อแนะฉบับที่ 184 ค.ศ. 1996 และอนุสัญญาฉบับที่ 102 ค.ศ.1952 ผลของการศึกษาได้พบว่าผู้รับงานไปทำที่บ้านได้รับค่าตอบแทนที่ตํ่ากว่าค่าตอบแทน ที่ผู้จ้างงานจ่ายให้กับแรงงานในระบบสวัสดิการของผู้รับงานไปทำที่บ้านจะไม่ได้รับสวัสดิการใดๆ จากผู้จ้างงาน ซึ่งแตกต่างกับแรงงานในระบบที่ได้รับสวัสดิการต่างๆ ตามกฎหมาย เช่น สวสัดิการในที่ทํางาน และสิทธิประโยชน์ในระบบประกันสังคมรองรับเช่น เจ็บป่วยคลอดบุตร ชราภาพ เป็นต้น ดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับต้องการใหม่การแก้ไข้ ค่าตอบแทนขั้นต่ำโดยให้มีคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนที่มีภาคเอกชนมากกว่าภาครัฐ ซึ่งจะกำหนดค่าตอบแทนขั้นต่ำให้กับแรงงานรับงานไปทำที่บ้านได้อย่างเป็นธรรม และสวัสดิการประกันสังคมควรกำหนดให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติประกันสังคมในมาตรา 33 ให้รวมถึงผู้รับงานไปทำที่บ้านด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.237en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันสังคมth_TH
dc.subjectค่าจ้างth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleค่าตอบแทนและการประกันสังคมของผู้รับงานไปทำที่บ้านth_TH
dc.title.alternativeCompensation and social security for home workersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.237en_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.237en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe goals of this thesis are as of the following: 1) To analyze the patterns, means and types of home-based work, including enforcement of the Home-Based Worker Protection Act of Thailand; 2)To analyze labor protection and work benefits that home-based workers should obtain; 3) To examine the law relating to homebased worker protection in other jurisdiction and compare with the law of Thailand; 4) To examine obstacles to implementation of the Home-Based Worker Protection Act of Thailand; and 5) To propose solution to the aforesaid obstacles and recommendation of amendment to the Home-Based Worker Protection Act. The research methods. By means of legal research by gathering texts from academic research publications, articles, laws both Thailand and abroad by the analysis of the law. Including International Labour Organization (ILO), International labour Convention No. 177, B.C 1996, International Labour Recommendation, No. 184, B.C.1996, Home Work, and Social Security Minimum Standards Convention No. 102, B.C.1952. B.C.1952. The study found that, compared with regular employment track under the social security compensation system, home-based workers receive inferior compensation and benefits, i.e. sickness benefits, retirement benefits, maternity benefits. Therefore, this thesis suggests that the law should specify minimum wage for home-based workers. Appropriate minimum wage should be determined by a committee comprised of higher private sector ratio. The Social Security Act, Article 33 in particular, should be amended to include “home- base workers” as the social security beneficiary.en_US
dc.contributor.coadvisorกำจร นากชื่นth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib135313.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons