Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7882
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | ประจักร์ อุดม, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-17T07:54:28Z | - |
dc.date.available | 2023-07-17T07:54:28Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7882 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในเรือนจําในเขตภาคใต้ ด้านฝั่งอันดามัน 2) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในเรือนจําในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน 3) เสนอแนะแนวทางการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในเรือนจําในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรของเรือนจําทั้งหมด 7 เรือนจําในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน ประกอบด้วยเรือนจําจังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดระนอง จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดสตูล อําเภอตะกั่วป่า รวมจํานวนทั้งสิ้น 383 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง คํานวณได้จากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ จํานวน 196 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.958 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในเรือนจําในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน อยู่ในระดับมากที่สุด คือการให้เงินเดือนตามมาตรฐานกำหนดการจัดสิทธิประโยชน์ตอบแทนจากการทํางานเหมาะสมและถูกต้อง การสร้างเครือข่ายและสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนในหน่วยงาน การระบุลักษณะงานและหน้าที่ความรับผิดชอบชัดเจน และการเปิดโอกาสให้ใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ 2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในเรือนจําในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ความต้องการทางสังคม และความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในเรือนจําในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน พบว่า ต้องการให้ผู้บังคับบัญชามอบหมายงานตามความเชี่ยวชาญ มีการสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน เช่น การฝึกอบรมเสริมความรู้ ความเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เรือนจำ--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเรือนจำในเขตภาคใต้ด้านฝั่งอันดามัน | th_TH |
dc.title.alternative | Work motivation of officers of prisons in the Southern Andaman Coast | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to study factors influencing the work motivation of officers of prisons in the southern Andaman coast 2) to study level of work motivation of officers of prisons in the southern Andaman coast 3) to suggest guidelines for motivation building for officers of prisons in the southern Andaman coast. The study was a survey research. Population consisted of personnel of 7 prisons in the southern Andaman coast including Phuket, Phang Nga, Ranong, Krabi, Trang, Satun, and Takuapa District totally 383 persons. Samples were 196 persons calculated by Taro Yamane formula with stratified random sampling method. Research instrument was a constructed questionnaire with value of validity at 0.958. Descriptive statistics employed for data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) factors influencing work motivation of officers of prisons in the southern Andaman coast was at highest level. Those were salary was standards, benefits were appropriate and fair, relationship between friends was good, characteristics and responsibility was clear and creative thinking was built. 2) level of work motivation of officers of prisons in the southern Andaman coast was at highest level. Those were social needs and security and safety needs. 3) suggestion guidelines for motivation building for officers of prisons in the southern Andaman coast, it was found that supervisor should assign the job according to the expertise, support for higher promotion, such as training, responsibility expertise. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_151907.pdf | 5.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License