Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภาth_TH
dc.contributor.authorจุฑา ศรีตะเจริญไพบูลย์, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T08:20:14Z-
dc.date.available2023-07-17T08:20:14Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7891en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาของสายการผลิตแบบเดิมของสายการติดตั้งกระจก (2) ออกแบบและปรับปรุงสายการติดตั้งกระจก (3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพสายการติดตั้งกระจกแบบเดิมและสายการติดตั้งกระจกแบบใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยการศึกษาสภาพปัญหาของสายการติดตั้งกระจกแบบเดิม โดยการสังเกตการณ์ของผู้วิจัย การประชุมระดมความคิดโดยใช้ผังแสดงเหตุและผล การศึกษาแนวคิดการออกแบบผังโรงงาน แนวคิดประสิทธิภาพ แนวคิดการออกแบบกำลังการผลิต แนวคิดการออกแบบกระบวนการผลิต แนวคิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง แนวคิดการลดความสูญเปล่า 7 ประการของกระบวนการผลิต เพื่อประยุกต์ในการปรับปรุงประสิทธิภาพสายการติดตั้งกระจกของโรงงานกรณีศึกษาโดยการออกแบบรถเข็นเคลื่อนที่ได้เพื่อใช้ทดแทนรางลูกกลิ้งลำเลียง วิเคราะห์ข้อมูลรายงานผลการผลผลิตประจำวันซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมโดยผู้จัดการแผนกผลิต การสังเกตการปฏิบัติงานของพนักงานโดยผู้วิจัยเปรียบเทียบระหว่างก่อน และหลังการปรับปรุง ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาที่ทำให้ผลผลิตต่ำกว่าเป้าหมาย ได้แก่ การสื่อสาร ระหว่างหัวหน้างานกับพนักงานต่างด้าว เวลาสูญเปล่าของพนักงานติดตั้งกระจก การได้รับวัสดุล่าช้า รางลูกกลิ้งลำเลียงมีความยาวจำกัด พัลเลตสำหรับบรรจุผลิตภัณฑ์ไม่เพียงพอ การใช้รถยกร่วมกับหน่วยงานอื่น (2) ออกแบบสายการติดตั้งกระจกใหม่โดยใช้รถเซ็นเคลื่อนที่ได้แทนรางลูกกลิ้งลำเลียง (3) สายการติดตั้งกระจกแบบใหม่สามารถ 1) ลดเวลาสูญเปล่าของพนักงานติดตั้งกระจก และยาซิลิโคนจำนวน 8 คน ลงได้ 10 ชั่วโมงแรงงานต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 15.63 ของเวลาทำงาน ปกติคิดเป็นเงิน 116,250 บาทต่อปี ระยะเวลาคืนทุนภายใน 1 ปี 10 เดือน 2) เพี่มกำลังการผลิตจาก 18 โครงต่อวัน เป็น 25 โครงต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 38.89th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectกระจกth_TH
dc.subjectผนังโครงคร่าวรับน้ำหนักth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพสายการติดตั้งกระจกสำหรับผลิตภัณฑ์ระบบผนังกระจกของบริษัทเอกชนแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeEfficiency improvement of glazing line for curtain wall product of a private companyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the problems of the old glazing line 2) to design and improve the glazing line 3) to compare an efficiency of the old glazing line and the new glazing line. This was an experimental research, by studying the existing problems of the old glazing line by direct observation of the researcher and brainstorming with related people by using the cause and effect diagram, in which the conceptual studied of a factory plant layout and design, an efficiency, a production capacity design, a process design, a continuous improvement, the job analysis and a 7 wastes reduction in production processes were applied to improve an efficiency of the glazing line of the case study factory. By designing the movable wagons for using instead of the fixed roller conveyor. The analyzing of production daily report, which is secondary data, collected by the production manager. the observation of the workers operation is to compare between before and after improvement. The results showed that (1) the problems of the old glazing line which effected to the less productivity to the target are the communication of the leader to the foreigner workers, the time wasted by glazing workers, materials were not delivered on time, the length of roller conveyor lines were limited, the steel pallets had not sufficient and the fork lift was shared with other section. (2) the new glazing line was designed and set up by using the movable wagons instead of fixed roller conveyor (3) the new glazing line is able 1) to reduce the time wasted of 8 glazing workers up to10 man-hour per day or equal to15.63% of regular man-hours, it is worth 116,250 baht per year, the payback period is 2 years and 10 months from the investment amount baht 212,500, baht 2) to increase the glazing capacity from 18 units per day to 25 units per day or equal to 38.89%.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155008.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons