Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรี ผาสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกตุสิริ ธนะเลิศพันธ์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T08:47:50Z-
dc.date.available2023-07-17T08:47:50Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7899-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการออมของพนักงานในอุตสาหกรรมอลูมิเนียม ประเทศไทย และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการออมของพนักงานในอุตสาหกรรมอลูมิเนียม ประเทศไทยประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานอุตสาหกรรมอลูมิเนียมในประเทศไทย โดยมีขนาดของกลุ่มตัวอย่างจํานวน 458 คน คำนวณด้วยวิธีสูตรของยามาเน โดยมีค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามด้วยการเก็บแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบียงเบน สําหรับการศึกษาพฤติกรรมรูปแบบการออมของพนักงาน และแบบจําลองถดถอยโลจิสติกแบบพหุกลุ่มในการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออมของพนักงาน โดยมีรูปแบบการออม คือ ออมเป็นเงินสด เงินฝากออมทรัพย์ พันธบัตรรัฐบาล กรมธรรม์ประกันชีวิต สลากออมสิน เงินฝากประจํา ทองคํา และรูปแบบการออมมากกว่า 1 อย่าง ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 21-23 ปี การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เป็นพนักงานฝ่ายผลิตและมีการทำงานเป็นกะ มีการวางแผนและมีการออมร้อยละ 84.50 และ 84.28 มีเงินฝากออมทรัพย์ร้อยละ 41.40 รองลงมาเป็นเงินสดร้อยละ 33.J0 และฝากประจําร้อยละ 8.0 มีการออมเงินเฉลี่ยเดือนละ 2,354.82 บาท ปัจจัยที่มีผลต่อการออมในระดับมาก คือ ด้านวัตถุประสงค์ในการออม ระดับปานกลาง คือ ด้านความรู้เกี่ยวกับการออมและการควบคุมตัวเองด้านใช้จ่าย 2) ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการคอม คือ อายุ รายได้ต่อเดือน รายได้ครัวเรือนรายจ่ายต่อเดือน ความรู้เกี่ยวกับการออมและวัตถุประสงค์การออม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 โดยปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับการออมและวัตถุประสงค์การออมจะเพิ่มโอกาสในการออมในรูปแบบออมทรัพย์ 2.652 และ 4.242 เท่า ปัจจัยรายจ่ายต่อเดือน รายได้ครัวเรือนต่อเดือน รายได้ต่อเดือนจะเพิ่มโอกาสในการออมในรูปแบบทรัพย์สิน 6.452 6.205 และ 0.02 เท่า ส่วนอายุจะมีผลต่อการออมในรูปแบบการฝากออมทรัพย์และฝากประจำในทิศทางตรงกันข้าม คือ 0.808 และ 0.683 เท่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอะลูมินัม--พนักงาน--การเงินส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการออมกับการลงทุนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการออมของพนักงานในอุตสาหกรรมอลูมิเนียม ประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting saving preference of aluminum industry employees in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the saving behaviors of the aluminum industry employees in Thailand and (2) to study the factors affecting the types of saving of the aluminum industry employees in Thailand. The population for this research was the aluminum industry employees in Thailand. The sample size was 458 calculated from Yamane formula with 0.05 error level. The data were collected by questionnaire with the convenience sampling technique. The statistics used for analysis included descriptive statistics, which are frequency, percentage, minimum, maximum, mean, and standard deviation, for learning the saving behaviors and types of saving of the employees and multinomial logistics regression for analyzing the factors influencing the saving of employees. The types of saving included cash on hand, saving deposit, government bond, life insurance, government savings bank's lottery, time deposit, gold, and combination which combined more than one type of saving. The results of the study showed that 1) most of the respondents were male, aged between 21-23 years old, educated in the high vocational level, worked as production worker in the shift work manner. 84.50% and 84.28% of them engaged in planning and had saving, respectively. There was 41.40% of saving deposit which followed by 33.10% of cash on hand and 8% of time deposit. They saved on average 2,354.82 Baht per month. The factor that potentially affected the saving behavior was the saving objectives, while the factors that moderately affected such saving behavior were the knowledge about saving and self-control on the spending and 2) the factors that statistically affect the types of saving at 0.01 and 0.05 significant level included age, monthly income, household income, monthly expenditure, knowledge about saving, and saving objectives. Moreover, knowledge about saving and saving objectives would increase the likelihood of saving in the saving deposit for 2.652 and 4.242 times, respectively. Also, monthly expenditure, household income, and monthly income would increase the likelihood of saving in assets for 6.452, 6.205, and 0.021 times, respectively. While age affected the saving deposit and time deposit in the opposite direction for 0.808 and 0.683 timesen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons