Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชญานี สิ่งที่สุข, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T02:25:15Z-
dc.date.available2023-07-18T02:25:15Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7908-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ โรงแรม ในเขตเมืองพัทยา และ (2) ศึกษาขนาดโรงแรมในเขตเมืองพัทยากับความสามารถในการ แข่งขันของธุรกิจโรงแรม โดยใช้กรอบแนวคิด 7-S ของแมคคินซีย์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย โรงแรมในเขตเมืองพัทยา จำนวน 119 แห่ง เครื่องมือ ที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจโรงแรม ในเขตเมืองพัทยา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการทดสอบ ภายหลังด้วยวิธีเชฟเฟและดันเน็ท ที 3 ด้วยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for windows ผลการวิจัยพบว่า (1) โรงแรมในเขตเมืองพัทยามีความสามารถในการแข่งขัน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โรงแรมในเขตเมืองพัทยามีความ สามารถในการแข่งขันทุกด้าน อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากด้านที่สูงสุดไปหาตํ่าสุดดังนี้ ด้านแบบการบริหาร ด้านโครงสร้าง ด้านกลยุทธ์ ด้านบุคลากร ด้านระบบ ด้านทักษะ และ ด้านค่านิยมร่วม และ (2) ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจโรงแรมที่มีขนาดต่างกันในเขต เมืองพัทยา ในภาพรวม พบว่า กลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่มีความสามารถในการแข่งขันต่างจาก กลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า กลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่มีความสามารถในการแข่งขันด้านกลยุทธ์ ด้านโครงสร้าง ด้านระบบ ด้านบุคลากร ด้านทักษะ และด้านค่านิยมร่วมต่างจากกลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก และกลุ่มโรงแรม ขนาดกลางมีความสามารถในการแข่งขันด้านทักษะต่างจากกลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.155en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธุรกิจโรงแรม--ความสามารถในการแข่งขันth_TH
dc.subjectโรงแรมth_TH
dc.titleความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจโรงแรมในเขตเมืองพัทยาth_TH
dc.title.alternativeStudy of hotel's competitiveness in Pattaya cityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study hotels’ competitiveness in Pattaya City; and (2) to study competitiveness based on the sizes of the hotels in Pattaya City, on the McKinsey 7-S Model. The sample consisted of 119 participating hotels in Pattaya City. Tools used in the survey were rating-scale questionnaires (reliability level at 0.95) regarding the implementation of annual operating plans. SPSS/PC for windows computer program was used to calculate the percentages, mean, standard deviation, ANOVA and the Scheffe’s and Dunnett T3 method. According to the finding, (1) the participating hotels’ had high levels of competitiveness. Considering each area, the study indicates that competitiveness in all areas is high. They were ranked from the highest to the lowest level as follows: styles, structures, strategies, staffs, systems, skills and shared values receptivity. (2) the competitiveness of hotels of different sizes in Pattaya City overall, in conclusion, large hotels were more competitiveness than small hotels, with a significant difference of .05. Considering at each area, the study finds that large hotels have better competitiveness in the areas of strategy, structure, system, staff, skill and shared value than small hotels. Mid hotels have better competitiveness in the area of skills than smaller hotels, significantly different at a level of .05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83653.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons