Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธิติพัฒน์ เอี่อมนิรันดร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทิมา ฮ้อศิริกุล.-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T07:42:05Z-
dc.date.available2023-07-18T07:42:05Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7955-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้บัตรเดบิต ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาถึงทัศนคติที่มีต่อบัตรเดบิตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (3) ศึกษา พฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล กับพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนทั่วไปที่มีบัญชีเงินฝากกับสถาบันการเงินในกรุงเทพมหานคร และมีคุณสมบัติในการสมัครบัตรเดบิต คือ มาอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป จำนวน 400 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับการรับรู้ที่มีต่อบัตรเดบิต ทัศนคติที่มีต่อบัตร เดบิต พฤติกรรมการใช้บัตรเดบิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ทดสอบความสัมพันธ์ด้วย t-test F-test และ Scheffe โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ใช้บริการบัตรเดบิต ในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนมากเป็นผู้หญิง จบ การศึกษาระดับปริญญาตรี อายุ 31-40 ปี เป็นพนักงานบริษัท มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 15,000 บาท (2) บัตรเดบิตที่รู้จักมากที่สุด คือ บัตรเดบิตกรุงศรีวีซ่าอิเล็กตรอน รู้จักทางโทรทัศน์ ว่าเป็นบัตรที่ ใช้ชำระแทนเงินสดเพื่อใช้ซื้อสินค้าหรือบริการ และใช้ถอนเงินสดจากตู้บริการอัตโนมัติได้ (3) ทัศนคติ ที่มีต่อบัตรเดบิต คือ เบิกเงินสดได้ และสะดวกในการพกพา (4) พฤติกรรมการใช้บัตรเดบิตของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เบิกเงินสด สถานที่ใช้บัตรส่วนใหญ่ คือ ที่ห้างสรรพสินค้า โดยใช้ซื้อ สินค้าอุปโภคบริโภค ปริมาณการใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิตต่อเดือน 2,000 – 5,000 บาท จำนวนครั้งที่ใช้ บัตรโดยเฉลี่ยต่อเดือน 3-5 ครั้ง วันที่ใช้บัตรมากที่สุด คือ วันเสาร์-อาทิตย์หรือวันหยุด ประโยชน์ที่ได้รับ จากการใช้บัตร คือ ไม่ต้องเบิกเงินสดมาจ่าย (5) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ จ่ายผ่านบัตรเดบิต ได้แก่ ปัจจัยด้านระดับการศึกษา ด้านอายุ ด้านอาชีพ และด้านรายได้ต่อเดือน ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลที่ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิต ได้แก่ ปัจจัยด้านเพศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบัตรเดบิตth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใชับัตรเดบิตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumers' behaviors of debit card usage in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were as follows: (1) to study Bangkok consemers’ knowledge about debit cards (2) to study Bangkok consumers’ attitude debit card usage (3) to study consumers’ debit card usage behoviors in Bangkok (4) to study relationships between demographic factors and behaviors in using debit cards. The study samples was 400 people aged above 15 with deposit at financial institutions. The questionnaire developed by the researcher composed knowledge about debit cards, attitude to debit cards and behavior in using debit cards. Descriptive information was presented in terms of percentage and mean. Comparisons between different sub-groups were done by performing t-test, F-test and Scheffe. Data was analyzed by SPSS. The results were as follows: (1) Most consumers using debit cards were females, university graduates, aged 31-40, earning a monthly salary in the range of 10,000-15,000 baht. (2)The most well known debit card was the Krungsri Visa Electron Debit Card. It was know through television, that the card could be used to buy goods or services or draw cash from ATMs. (3) Attitude to debit cards were that they could be used to draw cash and were easy to carry. (4) Behavior in using debit cards of consumers in Bangkok were to draw cash. They were mostly used at Department Stores, to buy consumer goods. Debit card spending was about 2,000-5,000 baht per month. The cards were used 3-5 times per month on average, mostly on weekends or holidays, with the benefit of not carrying cash. (5) Regarding the relationship of personal factors and behavior of debit card use among consumers, the factors found to be significantly different were education level, age, career and mouthly income, whereas gender was not statistically differenten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83814.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons