Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7970
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีราภรณ์ สุธัมมสภา | th_TH |
dc.contributor.author | ศิรินธร ถือแก้ว, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-18T08:44:58Z | - |
dc.date.available | 2023-07-18T08:44:58Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7970 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับการตรวจรักษาโรคหัวใจเพื่อการจัดการระบบ Cardio Vascular Information System และ (2) วิธีการจัดการเพื่อนำระบบ Cardio Vascular Information System มาใช้ในศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ โรงพยาบาลศิริราช การศึกษาครั้งนี้มีวิธีการดำเนินการโดยศึกษาระยะเตรียมการนำระบบมาใช้ด้วยการเข้าร่วมอบรมการใช้โปรแกรม การศึกษาจากคู่มือของระบบ Cardio Vascular Information System การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการกบอาจารย์แพทย์ จำนวน 1 คน ผู้เข้าร่วมการอบรมที่เป็นระดับผู้ใช้งานขั้นสูง จำนวน 1 คน และเจ้าหน้าที่บริษัท Philips ตำแหน่งที่ปรึกษา Cardio Vascular Information System จำนวน 1 คน โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกบการจัดการความรู้และวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า (1) ความรู้ที่จำเป็นในการจัดการเพื่อนำระบบ Cardio Vascular Information System มาใช้ในศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ โรงพยาบาลศิริราช ได้แก่โปรแกรมหลัก ของผู้ใช้ระบบ ระบบการจัดการทรัพยากรของระบบ ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลระบบการจัดการรายงาน ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบ ได้แก ่Workflow ห้องตรวจส่วนหัวใจ การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อน การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจการตรวจวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าหัวใจ การตรวจหัวใจด้วยคลื่นสนามแม่เหล็ก และการผ่าตัดหัวใจ การมีแกนนำทางความรู้ได้แก่ หัวหน้างาน หรือผู้จัดการความรู้ Super User และเจ้าหน้าที่บริษัท Philips มีความสำคัญอย่างมากในการถ่ายทอด ความเป็นไปของระบบและการใช้ระบบในแต่ละส่วนอยางถูกต้อง และ (2) วิธีการจัดการเพื่อนำระบบ CVIS มาใช้เป็ นไปตามวงจรการพัฒนาระบบซึ่งเข้าสู่ระยะที่ 4 คือ การนำไปใช้ปรับเปลี่ยนแบบคู่ขนาน โดยแกนนำทางความรู้จะเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดการใช้งานระบบ Cardio Vascular Information System ให้เป็นไปอย่างถูกต้องจึงทำให้การนำระบบมาใช้งานได้ อย่างประสบความสำเร็จ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลศิริราช. ศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ--การบริหาร | th_TH |
dc.title | ความรู้ที่จำเป็นในการจัดการเพื่อการนำระบบ Cardio vascular information system ไปใช้ในศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถโรงพยาบาลศิริราช | th_TH |
dc.title.alternative | Essential knowledge for the cardio vascular information system implementation at Her Majesty Cardiac Center, Siriraj Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this independent study were: (1) to collect the essential knowledge about treatment of heart diseases for the management of the Cardio Vascular Information System (CVIS); and (2) focus on how to implement the CVIS at Her Majesty Cardiac Center, Siriraj Hospital This independent study was focused on the preparation phase by participating in training of the program, analyzing CVIS manual; an informal interview with one doctor, advance-level user and CVIS consultant from Philips. The conceptual framework was based on knowledge management and the system development lifecycles. Major findings were that: (1) the essential knowledge for CVIS implementation was CVIS US, resource management, data analysis, report management system. The essential knowledge about work processes was the workflow of catch lab rooms, workflow of Echocardiography, workflow of Ambulatory clinic, workflow of EP study, workflow of MRI and workflow of surgery. The main knowledge was senior managers or knowledge managers (CKO), who was the doctor, advance-level user and the CVIS consultant were very important for relay and using CVIS properly; and (2) CVIS management for implementation in line with the fourth phase of System Development Life Cycle was the parallel change over towards operation. The main knowledge would be important for channeling/transferring knowledge about using the program properly leading the success for CVIS implementation. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128350.pdf | 15.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License