กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7973
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | วิโรจน์ สว่างเถื่อน, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-19T00:54:53Z | - |
dc.date.available | 2023-07-19T00:54:53Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7973 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท การบินไทยจำกัด (มหาชน) (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันกับระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะงานที่แตกต่างกันกับระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และ (5) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ทุกระดับรวม 400 คน ซึ่งทำงานในแผนกงานช่าง งานบริการลูกค้า งานปฏิบัติการบิน งานโภชนาการ งานการตลาด/การขาย และงานบุคลากร/งานทั่วไป เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กร ด้านความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ด้านความเชื่อมั่น ศรัทธาในนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ ด้านความก้าวหน้าในงาน ด้านความมั่นคงในงาน และด้านความปลอดภัยในการทำงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ทดสอบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี t-test F-test และ ทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี Scheffe’s test ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ส่วนมากเป็นเพศชาย อายุ 31 – 40 ปี สถานภาพสมรสแล้ว ระดับการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอายุงาน 11 – 15 ปี (2) ส่วนมากปฏิบัติงานอยู่ในกลุ่มงานบริการลูกค้า และกลุ่มงานช่าง มีส่วนร่วมในการวางแผนปานกลาง ติดต่อสื่อสารในการทำงานด้วยวาจา มีลักษณะการบริหารและการควบคุมงานแบบผสม (3) ส่วนมากมีความผูกพันต่อองค์กรในระดับปานกลาง (4) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ที่แตกต่างกับความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ ตำแหน่งงาน และอายุงาน ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง สำหรับลักษณะงานที่ปฏิบัติในภาพรวมมีความสัมพันธ์ที่ไม่แตกต่างกับความผูกพันต่อองค์กร แต่พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร ด้านความก้าวหน้าในงาน และด้านความปลอดภัยในการทำงาน มีความสัมพันธ์ที่แตกต่างกับความผูกพันต่อองค์กร ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.154 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริษัทการบินไทย | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ--ไทย | th_TH |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทการบินไทยจำกัด(มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational commitment of employees of Thai Airways International Public Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2004.154 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.154 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were as follows: (1) to study the level of the organizational commitment of employees of Thai Airways International Public Co. Ltd.; (2) to study the influence factors towards the organizational commitment of employees of Thai Airways International Public Co. Ltd.; (3) to study the association between the difference of demographic characteristics with the level of the organizational commitment of employees of Thai Airways International Public Co. Ltd.; (4) to study the association between the difference of work with the level of the rganizational commitment of employees of Thai Airways International Public Co. Ltd.; and (5) to suggest the methods to improve the level of the organizational commitment of employees of Thai Airways International Public Co. Ltd. The study samples included 400 employees worked on technical job, service job, flying job, catering job, marketing and selling job and human resource and general job. The questionnaire developed by the researcher composed regarding 8 parts: being proud, being confident in the policy and the goal, being acceptable as a member, relationship with others, fringe benefits, progress from work, work security and safety of location. Data was analyzed by SPSS. Descriptive information was presented in terms of percentage, mean and standard deviation. Comparisons among different sub-groups were done by performing t-test, F-test and Scheffe’s test. The results were as follows: (1) Most of employees were males, aged 31- 40 years, married, educated at undergraduate level or above, position at operating staffs and work period at 11-15 years: (2) They worked on service job and technical job, joined to make planning at medium level, communicated by speaking, managed and controlled by mixed module: (3) Most of them had organizational commitment at medium level: (4) Regarding the organization of personal characteristics the factors found significantly different were positioning and work period; whereas other personal characteristics were not significantly different; in general the difference of work were not significantly different, but by side the relationship in the organization, the progress of work, the safety in processing were significantly different; whereas other works were not significantly different. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Theses |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License