Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพรัตน์ ศรีวงศ์พานิช, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T01:33:07Z-
dc.date.available2023-07-20T01:33:07Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7984-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในร้านขายยาขององค์การ เภสัชกรรมและร้านขายยาทั่วไป (2) ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อยาของผู้บริโภคในร้านขายยาของ องค์การเภสัชกรรมและร้านขายยาทั่วไป กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการจากร้านขายยาขององค์การเภสัชกรรมและร้านขายยาทั่วไปใน เขตที่มีร้านขายยาขององค์การเภสัชกรรมจำนวน 420 ราย จำแนกออกเป็นผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านขายยาของ องค์การเภสัชกรรมจำนวน 210 ราย และผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านขายยาทั่วไป จำนวน 210 ราย เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการซื้อยา และความคิคเห็นของผู้บริโภค สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทคสอบไคสแคว์ โดยใช้โปรแกรม สำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างของร้านขายยาขององค์การเภสัชกรรมส่วนใหญ่เป็นเพศชายมีอายุ 25-35 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัท/รับจ้าง และมีรายได้เฉลี่ย 10001-20000 บาทต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างของร้านขายยาทั่วไปส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 25-35 ปี การรักษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงาน บริษัท/รับจ้าง และมีรายได้เฉลี่ย 10001-20000 บาทต่อเดือน (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การซื้อยาของผู้บริโภคในร้านขายยาขององค์การเภสัชกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ เพศมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านเหตุผลที่ซื้อยาและวิธีการที่ใช้ในการซื้อยา อายุ และรายได้มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านพฤติกรรมเมื่อจำเป็นต้องซื้อยา และวิธีการในการซื้อยา อาชีพมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านพฤติกรรมเมื่อจำเป็นต้องซื้อยาและแหล่งที่ซื้อยาบ่อยที่สุค (3) ปัจจัย ส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาของผู้บริโภคในร้านขายยาทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 คือ เพศมีความสันพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านพฤติกรรมเมื่อจำเป็นต้องซื้อยา และวิธีการที่ใช้ ในการซื้อยา อายุ อาชีพและรายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านแหล่งที่ซื้อยาบ่อยที่สุด ส่วน การศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาของผู้บริโภคของร้านขายยาทั้งสองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectร้านขายยา -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อยาของผู้บริโภคในร้านขายยาขององค์การเภสัชกรรม ในเขตกรุงมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeComparison of consumer's drug purchasing behavior in private retail drugstores and the government pharmaceutical organization retail drugstores in Bangkok and surrounding areasth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the personal characteristics of the government pharmaceutical organization and private retail drugstores consumers; (2) to compare drug purchasing behaviors of the government pharmaceutical organization and private retail drugstores consumers. A total of420 research samples were interviewed comprised of 210 government pharmaceutical organization and 210 private retail drugstores consumers. The research instrument was a questionaire with statistical reliability of 0.95.The statistical methods employed for research data analysis were percentage, mean, standard deviation, chi-square and t-test using the program SPSS for Windows version 10. The research findings showed that (1) The majority of consumers of the government pharmaceutical organization retail drugstores were male, aged 25-35 years, Bachelor’s degree graduates, working for a private-sector company and had a monthly income between 10,001-20,000 baht while the majority of consumers of the private retail drugstores were female, aged 25-35 years. Bachelor’s degree graduates, working for a private-sector company and had a monthly income between 10,001-20,000 baht; (2) The personal characteristics had a significant relationship with drug purchasing behavior in the government pharmaceutical organization retail drugstores. Gender had a relationship with drug purchasing behavior in regard to the reason for purchasing and purchasing method. Age and income had a relationship with drug purchasing behavior in regard to when needs occur and purchasing method. Occupation had a relationship with drug purchasing behavior in regard to when needs occur and place. There was no significant relationship between education level and drug purchasing bchavior,(3) The personal characteristics had a significant relationship with drug purchasing behavior in the private retail drugstores. Gender had a relationship with drug purchasing behavior in regard to when needs occur and purchasing method. Age, income and occupation had a relationship with drug purchasing behavior in regard to place. There was no significant relationship between education level and drug purchasing behavioren_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
90582.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons