Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุพุฒิ พ่วงทอง, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T03:18:09Z-
dc.date.available2023-07-20T03:18:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7996-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง “สิทธิของผู้เสียหายกับการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาโดยรัฐ” มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายกับการเยียวยาผู้เสียหายที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม 2) เพื่อศึกษาถึงพัฒนาการและหลักเกณฑ์ทางกฎหมาย ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายกับการเยียวยาผู้เสียหายที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิทางกฎหมายและการเยียวยาผู้เสียหายที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมของต่างประเทศกับของประเทศไทย และ 4) พื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายกับการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาโดยรัฐในประเทศไทย การค้นคว้าอิสระเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูลจากตำรา วารสาร เอกสารทางวิชาการ การวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความทางกฎหมาย ตลอดจนข้อมูลทางเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์เน็ต เอกสารที่เกี่ยวข้องและตัวบทกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายกับการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาโดยรัฐ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากการศึกษาพบว่า กฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายและการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาโดยรัฐของประเทศไทยยังมีความไม่เหมาะสมและเป็นธรรมเพียงพอ เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรการของต่างประเทศ โดยมีเพียงพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและ ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 กำหนดเรื่องสิทธิของผู้เสียหายว่า จะต้องเป็นบุคคลซึ่งได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิตหรือร่างกายหรือจิตใจ นอกจากนี้มาตรการเยียวยาผู้เสียหายในทางอื่นนอกจากตัวเงิน กฎหมายของประเทศไทยก็ไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้อย่างชัดเจน แต่กระจัดกระจายไปตามกฎหมายฉบับอื่นๆ เช่น ในกฎหมายคุ้มครองพยานในคดีอาญา เป็นต้น ดังนี้ ผู้ศึกษาเห็นว่า ควรปรับปรุงมาตรการในการเยียวยาผู้เสียหายที่ตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมให้มีความเหมาะสมและเป็นธรรม ทั้งในแง่กฎหมายที่ใช้บังคับและมาตรการรองรับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้เสียหายth_TH
dc.subjectความช่วยเหลือทางกฎหมายth_TH
dc.titleสิทธิของผู้เสียหายกับการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาโดยรัฐth_TH
dc.title.alternativeRight and compensation to victim of crime by the Stateen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study on “Rights and Compensation to the Victim of Crime by the State” are 1) to study concepts and theories about rights and compensation to victims of crime 2) to study the development, legal measures and problems related to rights and compensation to victims of crime 3) to analyze and compare legal measures for rights and compensation for victims of crime in Thailand to other countries and 4) to find solutions for the injustice in rights and compensation to victims of crime by the state in Thailand. This independent study is qualitative research which uses documentary research method by collecting and analyzing data from journals, academic works, research papers, theses, legal articles as well as sources from websites related to rights and compensation to victims of crime by the state in both Thai and English. The research found that laws and legal measures related to the rights and compensation to victims of crime in Thailand are still inappropriate and unfair comparing to the measures in other countries. In fact it is found that-only main legislative measure at present is the Compensation and Expense to Injured Persons and the Accused in Criminal Cases Act B.E. 2544, which stipulates rights of the victim that the person must be harmed to death or physically or mentally damaged. In addition, damages compensation for non-pecuniary are not clearly covered in Thai laws. They are dispersed in other laws such as law on witness protection in criminal case. Thus, the researcher thinks that there should be an amendments to related legal measures so that compensations for crime victims are more appropriate and fair in terms of law enforcement and supporting measuresen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons