Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุบลศักดิ์ ลีชัย, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T07:32:18Z-
dc.date.available2023-07-20T07:32:18Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8027-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่น ศึกษาขั้นตอนและกระบวนการการลงคะแนนเสียงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อการถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และปัญหาที่เกิดขึ้นจากกฎหมายระเบียบดังกล่าว วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542 โดยเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องในทักษะเดียวกันและหลักเกณฑ์ของกฎหมายต่างประเทศ และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นมีความบริสุทธิ์ยุติธรรมและสะท้อนเจตจำนงของประชาชนในท้องถิ่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยเอกสาร จากตัวบทกฎหมาย ตำราและเอกสารทางวิชาการ คำพิพากษาและคำวินิจฉัย ตลอดจนเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับการถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่า สมควรที่จะมีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ให้ทันสมัยทันเหตุการณ์ปัจจุบันและเป็นการลดปัญหาการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ในบทบัญญัติที่ไม่ได้บัญญัติไว้ผู้วิจัยเห็นว่าควรนำบทบัญญัติที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545 มาเพิ่มเติมเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวได้ซึ่งจะทำให้ผลการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรมลดโดยสมดังเจตนารมณ์ของประชาชนในการปกครองระบอบประชาธิปไตย และลดปัญหาการคัดค้านได้ไป เนื่องจากหากการดำเนินการตามกระบวนลงคะแนนถอดถอนไม่เป็นไปด้วยความสุจริตและเที่ยงธรรม ก็ทำให้ผลที่ได้รับเป็นการทำลายการปกครองในระบอบประชาธิปไตยได้เช่นกัน นอกจากนี้ ควรมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานของท้องถิ่นโดยตรง จะส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของตนในฐานะพลเมืองและการเมืองพร้อมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการถอดถอนออกจากตำแหน่งth_TH
dc.subjectประชามติth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeThe vote to remove local councilors or administratorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this independent study were to make a comparative study on the principle and legal concept of recall of local political positions and the process of voting to remove local political positions under the Act on Voting to Remove Local Councilors and Administrators, B.E. 2542; to analyze legal problems in implementing such law; and to propose the appropriate amendment to the Act on Voting to Remove Local Councilors and Administrators, B.E. 2542 so as the recall system should be fair and consistent to the will of people of that locality according to the democracy regime of government. This study was a qualitative research conducted through a documentary research of provisions of law, textbooks and academic papers, judgments and decisions, and other documents related to the recall or voting to remove local political positions. The findings of the study were that the Act on Voting to Remove Local Councilors and Administrators, B.E. 2542 should be amended so as to conform with the present situation and to solve problems of election officers who organize the voting by applying some rules under the Act on Election of Local Councilors and Administrators, B.E. 2545. This is for the purpose of enhancing the fairness of the election and consistent to the will of people of that locality according to the democracy regime of government and to reduce the problems on protesting the voting results if they satisfy the election process. Moreover, it should promote the direct participation of the people in local administration which will educate people on civil rights and liberties and political rights at the same timeen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons