Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8046
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ดลใจ ทองสิงห์, 2513- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-21T06:21:48Z | - |
dc.date.available | 2023-07-21T06:21:48Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8046 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลโครงการรณรงค์ลดการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในจังหวัดอำนาจเจริญ โดยใช้กรอบ CIPP Model ซึ่งได้แก่ ด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้านกระบวนการดำเนินงาน (Process) และด้านผลผลิต (Product) (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของช้าราชการ ที่มีต่อโครงการรณรงค์ลดการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการที่ เกี่ยวข้องกับโครงการในจังหวัดอำนาจเจริญ ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุข ได้จากการสุ่มตัวอย่าง แบบสองขั้นตอน และข้าราชการตำรวจ ได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย รวมทั้งสิ้น 434 คน เครื่องมือ ที่ใช้เป็นแบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูล โดยส่งแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างโดยตรง วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การแจกแจงความถี่ ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใช้การทดสอบค่าที (t - test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า ระดับของความคิดเห็นในภาพรวม เกี่ยวกับโครงการรณรงค์ลดการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการดำเนินงาน และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นโดยรวมอยู่ ในระดับปานกลางทั้ง 4 ด้าน ส่วนการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ อาชีพ รายได้ต่อเดือน และอายุราชการต่างกันมีความคิดเห็นโดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมันัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และไม่แตกต่างกัน ยกเวัน กลุ่มระดับ การศึกษา มีความคิดเห็นโดยรวมทั้ง 4 ด้านไม่แตกต่างกัน จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ควรมีการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมรณรงค์อย่าง ฅ่อเนื่อง ไม่ควรเน้นการจัดกิจกรรมเฉพาะในงานเทศกาล งานประเพณี และวันสำคัญเท่านั้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.92 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โครงการรณรงค์ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ -- การประเมิน | th_TH |
dc.subject | เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.title | การประเมินผลโครงการรณรงค์ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ : กรณีศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of alcoholic drinking behavior reduction campaign project : a case study of Ammatcharoen | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to 1) evaluate Alcoholic Drinking Behavior Reduction Campaign Project in Amnatcharoen Province using CIPP framework which were context, input, process, product and 2) compare the attitude of government officials on the Project classifying by personal factors. The study was a survey research. Population consisted of the government officials in the province who were involved in the Project. Health Care personnel were random by two stages random technique, while Policeman were random by simple random technique; 434 samples totally. Questionnaire was used as an instrument and were distributed directly to respondents. Data collected were statistically analyzed using percentage, mean, frequency, standard deviation, t-test hypothesis and variance analysis (ANOVA) The research revealed that the overall attitudes towards the Project were in medium level. When considering context, input, process and production framework, it was found that the overall attitudes in 4 aspects were at medium level as well. As for attitude comparison, it was found that sample groups with difference in sex, occupation, monthly income and job experiences had different attitudes in 4 aspects with significant level at .05, with the exception of education difference factor of which had no attitude difference in all aspects. The researcher suggested that there should be more public relation activities, while campaign activities should be organized continuously rather than only in community annual festival, traditional festival and other national holidays | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License