Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8055
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สมใจ พุ่มศิริ, 2503- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-21T06:44:28Z | - |
dc.date.available | 2023-07-21T06:44:28Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8055 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสม การตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการเสียงเพลงรอสายบนโทรศัพท์ข้อถือ (2) ศึกษา พฤติกรรมการใช้บริการเสียงเพลงรอสายบนโทรศัพท์มือถือ (3) ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของ คุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคต่อการเลือกใช้บริการเสียงเพลงรอสายบนโทรศัพท์ข้อถือของกลุ่ม นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของรัฐ 341 คน และของเอกชน 59 คน รวม 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความ เชื่อมั่นเท่ากับ 0.821 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ การ ทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ โดยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน การทดสอบด้วยค่าสถิติ ไคสแควร์ และทดสอบความสัมพันธ์ ด้วยวิธีทางสถิติแบบพาราเมตริก และ แบบนอนพาราเมตริก ผลการวิจัยพบว่า (1) สื่อที่มีอิทธิพลต่อการคัดสินใจใช้บริการมากที่สุด คือ โทรทัศน์ (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการของผู้บริโภคมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ในตัวแปรที่เกี่ยวกับรูปแบบบริการที่โดนใจ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาด มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการเสียงเพลงรอสายบนโทรศัพท์ข้อถือ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.147 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- ไทย | th_TH |
dc.subject | เพลงรอสาย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการเสียงเพลงรอสายบนโทรศัพท์มือถือ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting behaviors in using ring back tone service on mobile phone of secondary school students in Bangkok Metropolitan area | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to study the personal factors and marketing mix factors affecting behaviors in using Ring Back Tone Service on mobile phone; (2) to study the behavior in using Ring Back Tone Service on mobile phone; (3) to study the relationships of customers’ personal qualifications which affected the decision in using Ring Back Tone Service on mobile phone of secondary school students in Bangkok Metropolitan Area. This research was the survey research. Sampling groups in this research were 341 public secondary school students in Bangkok Metropolitan Area and 59 private secondary school students in Bangkok Metropolitan Area total 400 students. Research tool was questionnaire with confidence level of 0.821. Statistical methods used to analyze data were standard deviation, percentage, t-test, F-test by ANOVA, chi-square and parametric/ nonparametric statistics. The research results showed that: (1) the media most affecting behavior in using this service was television; (2) Marketing mix factors most affecting behavior in using this service was product factor which was “on demand service”; (3) personal factors and marketing mix factors were affect the behavior in using Ring Back Tone Service significantly different at the 0.05 level | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License