Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorนดา บ่อน้อย, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T07:27:14Z-
dc.date.available2023-07-21T07:27:14Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8066en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (2) ระดับการรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์และ (3) การรับรู้การสื่อสาร การตลาดเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือผู้ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เป็นคนไทยซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ใช้ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้จำนวนทั้งสิ้น 200 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบตามสะดวก ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุ 21-30 ปีประกอบ อาชีพพนักงานเอกชน การศึกษาระดับปริญญาตรีและมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 25,000 บาท (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่นิยมใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของเฟสบุ๊ค โดยผ่านทาง โทรศัพท์สมาร์ทโฟน อยู่บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ 1-4 ชั่วโมงต่อวัน (2) ระดับการรับรู้การ สื่อสารการตลาดผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ (3) การรับรู้การสื่อสารการตลาดเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความสะดวกสบายในการเลือกชมสินค้าอยู่ใน ระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นสื่อด้านการตลาดทางตรง ด้านการตลาด แบบปากต่อปาก และด้านกิจกรรมพิเศษ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครือข่ายสังคมออนไลน์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดth_TH
dc.titleการรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้ใช้สังคมออนไลน์th_TH
dc.title.alternativePerception of social media users towards social media marketing communication networken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the following: (1) social network using behavior; (2) social network marketing communication’s perception level; and (3) social network marketing communication’s perception that affect purchasing decision. This study is a survey research which has infinite population with 95% confident level and 0.05 deviation. Using convenience selection sampling with 200 samples. Questionnaire was used to collect data and analyzed with Microsoft Office Excel program. The statistical data used to analyze are frequency, percentage, average value and standard deviation. The result shows that most of the respondents are 21-30 years old men who have bachelor's degree education, employee occupation with average salary more than 25,000 bath, furthermore, from the study; (1) most of the respondents spend 1-4 hours on social network by using smart phone. The most popular social network is Facebook; (2) social network marketing communication’s perception is medium level; and (3) the most factor of social network marketing communication’s perception that affect purchasing decision is the users have convenient way of browsing through the products via social network.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_142589.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons