Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันทนีย์ ทองธราพัชร์, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T07:59:30Z-
dc.date.available2023-07-21T07:59:30Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8077-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (2) ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทยและต่างประเทศ (3) ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของกฎหมายต่างประเทศและประเทศไทย และ (4) ศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยจากเอกสาร ซึ่งผู้ศึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง อนุสัญญา ข้อกำหนด กฎหมาย ระเบียบ ประกาศและเอกสารราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา จากผลการศึกษาพบว่า (1) การแก้ไข บำบัด ฟื้นฟูเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญามุ่งเน้นการคุ้มครองครองสิทธิเสรีภาพและสวัสดิภาพของเด็กและเยาวชนเป็นสำคัญภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กและหลักประโยชน์สูงสุด (2) ประเทศไทยและต่างประเทศมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟูเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่แตกต่างกัน (3) แม้ว่าพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มีเจตนารมณ์เพื่อแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนที่ได้กระทำความผิด โดยมีจุดมุ่งหมายให้เด็กและเยาวชนมีความประพฤติตนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น มิต้องเข้าไปสู่กระบวนการฟ้องดำเนินคดี แต่หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนของประเทศไทยยังมีข้อบกพร่องหลายประการ และ (4) ผู้ศึกษาจึงขอเสนอการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการแก้ไขบาบัดฟื้นฟู เด็กและเยาวชน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาให้ชัดเจนภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กและตามหลักประโยชน์สูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเยาวชนth_TH
dc.subjectเด็กth_TH
dc.subjectการบำบัดth_TH
dc.subjectการฟื้นฟูสภาพจิตใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553th_TH
dc.title.alternativeThe correction, Treatment, and Rehabilitation of the Juvenile and Family Court and Procedure act B.E. 2553 (2010)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study concepts, theory regarding prevention and suppression of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice; (2) to study legal framework regarding prevention and suppression of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice; (3) to study and analyze issues regarding prevention and suppression of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice in national and international level; and (4) to study a resolution regarding of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice. This study was a qualitative research by using documentary approach. Data was collected via related documents, regulations, convention, provision, rules, notifications and other governmental documents regarding prevention and suppression of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice. The study revealed that; (1) The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice rights liberties and safety to the Conventions on the Rights of the Child and The best interests of the child; (2) Thailand and foreign countries have Different standards and conditions of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Juvenile Justice; (3) even though The Juvenile and Family Court and Procedure Act B.E. 2553 (2010) had the intent for The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice the intendments of law are for correction, treatment, and rehabilitation of delinquency in order to correct the juvenile behavior instead of using the prosecuting process the standards and conditions of implementing the aforementioned The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice in Thailand encompass numbers of deficiencie. and (4) It is recommended that there should be a recognizes acts of The Correction, Treatment, and Rehabilitation of Delinquency and Juvenile Justice satisfy to the Conventions on the Rights of the Child and The best interests of the child more transparenten_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT (4).pdfเอกสารฉบับเต็ม22.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons