Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจth_TH
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตันสุวรรณนนท์, 2501-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-22T06:58:01Z-
dc.date.available2023-07-22T06:58:01Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8091en_US
dc.description.abstractการศึกษาการนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้สูงอายุรวมถึง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมด้านที่อยู่อาศัยกับสภาวะสุขภาพอนามัย และความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมด้านที่อยู่อาศัยกับความต้องการที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณจากประชากรจำนวนผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร คำนวณกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตร W.G. Cochran เลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ จำนวน 219 ชุด เก็บข้อมูลที่บ้านของผู้สูงวัย โดยใช้แบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อเพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเพื่อการทดสอบสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุ 60-64 ปีการศึกษาจบระดับประถมศึกษา รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 30, 000 บาท สมาชิกในครอบครัว 2-4 คน ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 60 ปี ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในบ้านส่วนใหญ่ 2-4 คน พบว่าปัญหาสุขภาพมักเกี่ยวกับสายตาพบว่าลักษณะที่อยู่อาศัยปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นบ้านเดี่ยวกรรมสิทธิ์ โรคประจำตัวส่วนใหญ่ เป็นโรคความดันโลหิต 2)ผลการทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมกับสภาวะสุขอนามัยโดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ การเตรียมความพร้อมด้านลักษณะบ้านกับสภาวะสุขอนามัยมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ การเตรียมความพร้อมด้าน ห้องน้ำกับสภาวะสุขอนามัยมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลางและการเตรียมความพร้อมด้านห้องนอนกับสภาวะสุขอนามัยมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ด้านความต้องการที่อยู่อาศัย โดยรวมกับสภาวะสุขอนามัยมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลางและความต้องการที่อยู่อาศัยรวม (จำนวนชั้นกับห้องน้ำ) กับสภาวะสุขอนามัยมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ ปัญหาสุขภาพด้านปัญหาสุขภาพผู้อยู่รวมกันอาศัยกับสภาวะสุขอนามัยมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ปัญหาสุขภาพด้านปัญหาสุขภาพ ผู้อยู่ร่วมอาศัยกับความต้องการที่อยู่อาศัยรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับมากอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมด้านลักษณะบ้านกับความต้องการที่อยู่อาศัยรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ การเตรียมความพร้อมด้านห้องอาหารกับความต้องการที่อยู่อาศัยรวมมี ความสัมพันธ์กัน ในระดับต่ำและการเตรียมความพร้อมด้านห้องน้ำกับความต้องการที่อยู่อาศัยรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้งth_TH
dc.subjectพฤติกรรมการเลือกตั้ง--ไทย--ศรีสะเกษth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง--ไทย--ศรีสะเกษth_TH
dc.titleการเตรียมความพร้อมด้านที่อยู่อาศัยที่สัมพันธ์กับสุขอนามัยและความต้องการที่อยู่อาศัยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativePersonal Factors and Residence Preparation Related with Healthcare and Needs for Elder House in Bangkok and Vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study is aimed at the individual factors of the elderly , study the relationship between the preparation housing conditions, health , the relationship between the preparation side. residents with housing needs and housing needs of the elderly in Bangkok. A quantitative study of the population of the elderly in Bangkok. W.G. Cochran formula to calculate the sample with a chain of 219 sample collection, storage, home of the elderly. Questionnaires Then analyzed using descriptive statistics. And testing each hypothesis to analyze the relationship between independent variables and the dependent variable with the Pearson correlation test. The results showed that 1)the respondents were mostly male, aged 60-64 years completed primary school education. A monthly income of less than 30, 000 baht 2-4 family members were seniors over age 60 years who live together in a home 2-4 majority found that health problems often associated with the appearance of the eye. Current House majority ownership. Most diseases A blood pressure.2) The relationship between the test preparation and hygiene conditions, the overall relationship between low levels of preparedness style home with health conditions are interrelated low. To prepare the toilet with sanitary conditions are related in the medium and prepare the beds with health conditions associated with low levels of significance at the 0.05 level, the demand for housing. Overall health conditions are related to moderate. And the demand for housing as well (the number on the bathroom floor) and hygiene conditions have consistently low. Health problems, health problems associated with living conditions, hygiene is associated with a moderately significant level. 0:05 health problems, health issues They live together with their housing needs including the correlation between the level of significance at the 0.01 level 3)relation between the preparation style house with total residential demand has consistently low. To prepare the restaurant with the demand for housing combined with low correlation and preparing the bathroom with the demand for housing combined with low correlation significant at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147245.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons