Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลขนิษฐ์ ลิขิตลือชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจวรรณ แว่นแก้ว, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T04:35:21Z-
dc.date.available2022-08-20T04:35:21Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/809-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพการณ์และความต้องการรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล 2) พัฒนารูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ และ 3) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ผู้ให้ข้อมูลหลัก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย หัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 4 คนและพยาบาลพี่เลี้ยง จำนวน 4 คน และกลุ่มที่ 2 พยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ จำนวน 8 คน โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยสาขาการพยาบาลสูตินรีเวชกรรม ศัลยกรรม อายุรกรรม และกุมารเวชกรรม และได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้มี 3 ชุด ได้แก่ 1) แนวคำถามในการสนทนากลุ่ม 2) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ และ 3) โครงการประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.5 - 1.0 วิเคราะห์เนื้อหาโดยการจำแนกประเภทข้อมูลและคำนวณค่าความเหมาะสมของรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการณ์และความต้องการรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่น่วายที่จบใหม่ มีประเด็น 3 ประการ ดังนี้ (1) ด้านโครงสร้าง ได้แก่ การกำหนดคุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกพยาบาลพี่เลี้ยงการมอบหมายและการกำหนดสัดส่วนพยาบาลพี่เลี้ยงต่อพยาบาลจบใหม่การเตรียมและการแต่งตั้งพยาบาลพี่เลี้ยง และการมีแผนการสอนที่ชัดเจน (2) ด้านกระบวนการ ได้แก่ การกำหนดกระบวนการและระยะเวลาการเรียนรู้ระหว่างพยาบาลพี่เลี้ยงกับพยาบาลจบใหม่ และ (3) ด้านผลลัพธ์ ได้แก่ การประเมินผลการใช้รูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงที่เป็นรูปธรรม 2) รูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่ ด้านโครงสร้าง ด้านกระบวนการ และด้านผลลัพธ์ สร้างบนพื้นฐานของสภาพการณ์และความต้องการรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงดังกล่าว และบูรณาการกีบแนวคิดและทฤษฎี 4 ประการ ได้แก่ รูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลจบใหม่คุณลักษณะของพยาบาลวิชาชีพไทยรุ่นอายุวาย การบริหารพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย และการเสริมสร้าง พลังอำนาจในองค์กร และ 3) รูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่ ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ร้อยละ 81.73th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.96-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลพี่เลี้ยงth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงสำหรับพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายที่จบใหม่โรงพยาบาลวชิรพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeThe development of a nurse preceptor model for new graduate generation Y nurses at Vajira Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.96-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to analyze situations and needs of a preceptor model for new graduate generation Y nurses at Vajira Hospital, 2) to create a preceptor model for new graduate generation Y nurses, and 3) to evaluate an appropriateness of the developed preceptor model for new graduate generation Y nurses. The key informants comprised 2 groups: group 1 including four head nurses and four preceptors; and group 2 comprising eight new graduate generation Y nurses. All subjects worked at four different sectors namely obstetric, medical, surgical, and pediatric sectors. Research tools consisted of three types: 1) a focus group discussion guideline, 2) an appraisal form for evaluating the appropriateness of the new preceptor model for new graduate generation Y nurses, and 3) an academic training project. The research tools were verified by five experts for content validity. Its validities were ranged between 0.5-1.0. The data analysis was done by typological analysis and calculated the suitability score. The results of this study were as follows. 1) Situations and needs of using the preceptor model for new graduate generation Y nurses comprised three major dimensions: (1) structure-preceptor qualification and recruiting, assignment and proportion between preceptors and new nurses, preceptor preparation and appointment, and orientation guide and teaching plan; (2) process-establishment of the learning process and duration between preceptors and new graduate nurses; and (3) outcome-evaluation of using the developed preceptor model. 2) The new preceptor model consisted of structure, process, and outcome dimensions. It was developed based on situations and needs of the preceptor model. It was also integrated with 4 concepts/theories including preceptor model, trait of generation Y Thai nurses, the management of generation Y nurses, and theory of organization empowerment. Finally, 3) the developed preceptor model was appropriate for adoption with 81.73%en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 156759.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons