Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล วัฒนดำรงค์กิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิมพ์วิมล ไพสนิท, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T02:42:45Z-
dc.date.available2023-07-24T02:42:45Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8112-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ให้บริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอในเขตพื้นที่จังหวัดมุทรสงคราม (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อความพึงพอใจของประชาชนในการรับบริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน (3) เสนอแนะเชิงนโยบายในการปรับปรุงการให้บริการ ประชากรที่ศึกษา คือ เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ จำนวน 9 คน และกลุ่มประชาชนที่มาใช้บริการจำนวน 1,120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตสถิติที่ใช้ ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพการให้บริการของเจ้าหน้าที่แต่ละสำนักทะเบียนมี ประสิทธิภาพไม่แตกต่างกัน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับประสิทธิผลการขอรับบริการ จัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแต่ละสำนักทะเบียนมีประสิทธิผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.5 (3) ประชาชนในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับความพึงพอใจจากการขอรับบริการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 (4) การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม พบว่า ตัวแปรอิสระ ไม่สามารถอธิบายความฝันแปรเรื่องประสิทธิภาพด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่ในการจัดทำ บัตรประจำตัวประชาชนได้ (5) การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม พบว่า มีตัวแปรอิสระ 3 ตัว คือ ความรวดเร็ว ความถูกต้อง ความเสมอภาค ที่เข้าสู่สมการถดถอยมีความสามารถ อธิบายความฝันแปรเรื่องประสิทธิผลด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการขอรับบริการจัดทำบัตร ประจำตัวประชาชน จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะ คือ ควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกในการพัฒนาเจ้าหน้าที่ ฝู้ปฏิบัติงานให้มีจิตสำนึกในการให้บริการอย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมให้รู้จัก ปรับวิธีคิด และวิธีทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.234en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบัตรประชาชนth_TH
dc.titleประสิทธิภาพและประสิทธิผลการให้บริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณี : จังหวัดสมุทรสงครามth_TH
dc.title.alternativeEfficiency and effectiveness of service on identification card issuance : a case study of Samutsongkarm Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) level of efficiency and effectiveness of service on identification card (I.D. Card ) at a local registry of Samutsongkarm, 2) the factors caused to happen on the recipient’s satisfaction about I.D.Card management 3) the policy proposal concerning the service adjustment. The population studied were the 9 government officials on service and the recipients of 1,120 persons on receiving the service. The research instruments were questionnaires, interviewing, and observation. The statistics used covered percentile, mean, the standard of deviation, t-test, one way analysis variance (ANOVA) and multiple regression analysis. The research found that 1) the indifferent level of efficiency on providing the service among the registries was approximately at moderate level. 2) the different level of effectiveness on I.D. card issuance request at the level of statistical significance 0.5,3) minimum 80 percentage of the Samutsongkarm recipients attending the service were satisfied with the service received, 4) from the testing the relation of the independent variables and the dependent variables found that the independent variables were unable to explain the variance of the effectiveness on the officials’ service of I.D. card issuance, 5) the test on the relation of both variables showed that three independent variables ะ the fast, the correctness and the equity in regressive equation could explain the variation of effectiveness of satisfaction toward I.D. card request. The suggestion from the research was to for mulate proactive policies to develop the operating officials on service realization and making suitable toward thinking and working to help the public For serving the recipients it needed contact and assistance the practical service provider should not only be welcome every recipient but also build up good relationship for ail equally and most to respond the public’s satisfaction and utilitiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
97459.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons