Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอดุลย์ แสงทอง, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T07:53:34Z-
dc.date.available2023-07-24T07:53:34Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8127-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อศักยภาพ ในการบริหารจัดการ ปัญหา แนวทางการพัฒนา และ (2) ศึกษาเปรียบเทียบภาพรวมศักยภาพในการ บริหารจัดการของการประปาส่วนภูมิภาค ทั้งนี้ ได้นำกระบวนการบริหารจัดการที่เรียกว่า PAMS- POSDCoRB ซึ่งประกอบด้วย 11 ด้าน ได้แก่ การบริหารนโยบายการบริหารอำนาจหน้าที่ การบริหารคุณธรรม การบริหารที่เกี่ยวข้องกับสังคม การวางแผน การจัดองค์การ การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ การอำนวยการ การประสานงาน การรายงาน และการงบประมาณ เป็นกรอบใน การศึกษาวิเคราะห์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.82 การเก็บ รวบรวมข้อมูลข้อมูลสนามจากพนักงานการประปาส่วนภูมิภาค ดำเนินการระหว่างวันที่ 18 สิงหาคม ถึง วันที่ 23 กันยายน 2549 ได้กลุ่มตัวอย่าง 880 คน คิดเป็นร้อยละ 81.4 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด (1,180 คน) สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า การประปาส่วน ภูมิภาคมีศักยภาพในการบริหารจัดการ และเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ศักยภาพในการบริหารจัดการ ของการประปาส่วนภูมิภาคในปัจจุบนสูงกว่าในอดีต และเห็นด้วยในระดับน้อย ว่า ศักยภาพในการ บริหารจัดการของการประปาส่วนภูมิภาคสูงกว่าการประปานครหลวง สำหรับข้อเสนอแนะ เช่น การประปาส่วนภูมิภาคควรกำหนดนโยบายให้สอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ และ การบริหารจัดการของการประปาส่วนภูมิภาคควรเป็นไปในทิศทางที่เอื้ออำนวยต่อผลประโยชน์ ของส่วนรวม และมีเป้าหมายเพื่อประชาชน นอกจากนี้ควรนำกรอบแนวคิด PAMS-POSDCoRB ไปปรับใช้ในการศึกษาวิจัยในอนาคด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.360en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการประปาส่วนภูมิภาค -- การบริหารth_TH
dc.titleการเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการของการประปาส่วนภูมิภาคth_TH
dc.title.alternativeIncrease of potential of management administration of the Provincial Waterworks Authorityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the opinions of the samples on management administration potentials, problems, development guidelines, and (2) to study comparative overviews on management administration potentials of the Provincial Waterworks Authority (PWA). The study concentrated on the management administration by applying the conceptual framework of PAMS-POSDCoRB, consisted of 11 factors: Policy, Authority, Morality, Society, Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting, and Budgeting. This study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were pretested and had been checked out for validity and reliability of 0.82 . The field data collection, from the Provincial Waterworks Authority’ ร officers, was done during August 18 - September 14, 2005 with the amount of 880 people which making 81.4% of total samples (1,180 people). Descriptive statistics used were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The study results revealed that the samples agreed at the medium level that the management administration potentials of the PWA were high level, with the management administration potentials at the medium level. The samples agreed at the high level that the management administration potentials of the PWA at present are higher than in the past. They agreed at the low level that the management administration potentials of the PWA were higher than the Metropolitan Waterworks Authority. For suggestions, such as, PWA should establish policies coincide with the principle of decentralization. The administration management of PWA should concentrate on the direction of advocating the public interests with the goal for people. In addition, the conceptual framework of PAMS-POSDCoRB should be applied to the future research especially on the comparative researchen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98017.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons