Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8146
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณ์ดี แสงประทีปทอง | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงฤทัย หวังประสพกลาง, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-24T09:04:49Z | - |
dc.date.available | 2023-07-24T09:04:49Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8146 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ประเมินความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา จังหวัดนครราชสีมา (2) ประเมินความเหมาะสมด้านกระบวนการดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา และ (3) ประเมินผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน รวมจำนวนทั้งสี้น 167 คน จาก โรงเรียนปรางค์ทองวิทยา จังหวัดนครราชสีมา นักเรียนได้มาโดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นอย่างเป็นสัดส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาและแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะหข้อมูล ใช้ค่าความ ถี่ ค่าร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์เนื้อหาผลการประเมิน ปรากฏว่า (1) เกี่ยวกับความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนมีความคิดเห็นที่สอดคล้องกันในภาพรวมว่ามีความพร้อมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน (2) เกี่ยวกับความเหมาะสมด้านกระบวนการดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนมีความคิดเห็นที่สอดคล้องกันในภาพรวมว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน และ (3) ผลการประเมินผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-net) ค่าเฉลี่ยระดับโรงเรียนต่ำกว่าระดับประเทศ ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และผลการสอบของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ในภาพรวมนักเรียนมีผลสัมฤทธิทางการเรียนตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปร้อยละ 54.58 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางวิทยาศาสตร์ และผลการประเมิน ทักษะทางการเรียน (การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน) พบว่านักเรียนมีผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | th_TH |
dc.subject | การประเมินผลทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การวัดผล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การวัดและประเมินผลการศึกษา | th_TH |
dc.title | การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of school-based science curriculum at the upper secondary level of Prangthong Wittaya School in Nakhon Ratchasima | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to evaluate the readiness of input factors of school-based science curriculum at the upper secondary level of Prangthong Wittaya School in Nakhon Ratchasima; (2) to evaluate the appropriateness of the process factors of the school-based curriculum; and (3) to evaluate the output factors of the school-based curriculum. The evaluation sample consisted of 167 school administrators, teachers, and students of Prangthong Wittaya School in Nakhon Ratchasima. The students were obtained by proportional stratified random sampling. The evaluation tools were the questionnaires and a data recording form. The data was analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The evaluation findings were as follows: (1) regarding the readiness of input factors of the school-based curriculum, the school administrators, teachers, and students were in accord in their opinions that readiness of the input factors was at the high level and passed the evaluation criteria; (2) regarding the appropriateness of process factors of the school-based curriculum, the school administrators, teachers, and students were in accord in their opinions that appropriateness of the process factors was at the high level and passed the evaluation criteria; and (3) evaluation results of output factors of the school-based curriculum were as follows: the Ordinary National Educational Test (O-NET) result showed that the mean score of the school was lower than the national mean and did not pass the evaluation criteria; results of the final examination in the science courses at the upper secondary level showed that as a whole, 54.58 per cent of the students had the final examination scores at the good or higher levels, which did not pass the evaluation criteria; while results of evaluation of desirable characteristics in science and evaluation of learning skills (reading, analytical thinking, and writing) showed that the students’ scores were at the good or higher levels, which passed the evaluation criteria. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_146424.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License