Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorปพัฒน์ วสุธวัช, 2510th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T06:20:21Z-
dc.date.available2022-08-20T06:20:21Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/823en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการกันผู้ต้องหาเป็นพยาน ว่ามีหลักเกณฑ์การใช้อำนาจและดุลพินิจในการกันผู้ต้องหาเป็นพยานอย่างไร รวมทั้งวิเคราะห์หาแนวทางที่เหมาะสมในการกันผู้ต้องหาเป็นพยาน โดยนำคดีฆาตกรรม นางสยามลลาภ ก่อเกียรติ มาเป็นข้อมูลในการศึกษา การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากเอกสารคำพิพากษา ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ระเบียบ คำสั่งที่เกี่ยวข้อง วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความ ตำรา หนังสือต่างๆ รวมทั้งข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งของประเทศไทย และต่างประเทศนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ผลการวิจัย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การกันผู้ต้องหาเป็นพยานแม้นจะมองเป็นการขัดหลักความยุติธรรม หลักสิทธิและเสรีภาพของประชาชน แต่เพื่อผลประโยชน์ส่วนร่วมในการใช้ผู้ต้องหาที่กันเป็นพยาน มาเป็นพยานหลักฐานยืนยันตัวการสำคัญที่กระทำความผิด จึงมีความจำเป็นเพราะ เป็นเครื่องมือในการปราบปรามอาชญากรรมอยางหนึ่ง และยังไม่มีวิธีการที่ดีกวานี้ ส่วนการกันผู้ต้องหาเป็นพยาน การพิจารณาต้องผ่านขั้นตอนทั้งพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ บางครั้งอาจเกิดความเห็นแตกต่าง จึงสมควรให้หน่วยงานทั้งสองทำงานร่วมกันเทียบเคียงกับการสอบสวนร่วมกันในสำนวนชันสูตรพลิกศพคดีวิสามัญฆาตกรรม นอกจากนี้การรับฟัง พยานหลักฐานของผู้ต้องหาที่กันเป็นพยานมีส่วนสำคัญ การสอบสวนปากคำผู้ต้องหาที่พนักงาน สอบสวนคาดว่าจะกันเป็นพยาน ควรจัดการสอบสวนปากคำลักษณะทีมสหวิชาชีพ เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือในพยานหลักฐานนั้น และแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาของกฎหมาย เพื่อให้วิธีการกันผู้ต้องหาเป็นพยานเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อันเป็นการคุ้มครองสิทธิผู้ที่เกี่ยวข้องให้เกิดประโยชน์ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.89en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยานหลักฐานth_TH
dc.titleปัญหาการกันผู้ต้องหาเป็นพยานในคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeProblem of considering the accused person as a witness in a criminal caseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.89en_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.89en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study has the main objectives to investigate the concepts and theories regarding discretion and judgment of the person accused of criminal to be a witness. It also analyzes a suitable way of considering the offender as a witness by looking at the murder case of Mrs.Sayamon Lapkokirt as a concrete example for this study This research is a qualitative study by examining verdicts, Criminal Code, Criminal Procedure Code, regulations, relevant orders, theses, independent studies, articles, textbooks, books, data in electronic media both in Thailand and abroad . All of these are analyzed and synthesized so as to acquire research outcomes The research results found that the offender considered as a witness appears to be contrary to the principle of justice. But for the public interest, the accused person needs to be treated as a witness in order to testify the real offender. It is necessary to use this approach as this is a useful tool to suppress criminal activities. Otherwise, it cannot find out a better way to do this. With regard to the accused person considered as a witness, it needs to be agreed by both interrogator and public prosecutor. Sometimes, such officers have different opinions. By doing so, the officers have to collaborate as if they interrogate an autopsy case of extraordinary killing. Additionally, hearing the testimony of the accused offender considered as a witness is important. This offender should be interrogated by inter-disciplinary team in order to increase in that testimony. Likewise, the content of Criminal Code should be added so that the technique of considering the offender as a witness is effective for operation in respect of protecting stakeholders’ rights.en_US
dc.contributor.coadvisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib134792.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons