Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8255
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุษาวดี จันทรสนธิth_TH
dc.contributor.authorวิโรจน์ ดิลกชัย, 2502th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T08:55:46Z-
dc.date.available2023-07-26T08:55:46Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8255en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาข้อบกพร่องทางการเรียนด้านความรู้พื้นฐานเดิม ของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ และการให้ความช่วยเหลือ ประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่กำลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค 011 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2539 โรงเรียนสองคอนวิทยาคม โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 60 คนที่ได้ ระดับคะแนน '0' ในวิชาคณิตศาสตร์ ค 101 ค 102 ค 203 หรือ ค 204 ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 ผู้วิจัยสร้างข้อสอบแบบปรนัยตามจำนวนของวัตถุประสงค์ความรู้พื้นฐานของแต่ละ หน่วย วัตถุประสงค์ละ 2 ข้อ ก่อนเรียนเนื้อหาในแต่ละหน่วยให้นักเรียนทดสอบเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถ้าไม่ ผ่านวัตถุประสงค์ใดก็ให้การช่วยเหลือเป็นกลุ่มย่อยในห้องเรียนและทดสอบอีกครั้งถ้ายังไม่ผ่าน ให้นักเรียนศึกษาเป็นรายบุคคลในคาบอิสระจากเอกสารที่ผู้วิจัยได้เตรียมไว้ นักเรียนต้อง ทดสอบ จนกว่าจะผ่าน ผู้วิจัยทำการสอนเองตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคนักเรียนสอบวัดความรู้วิชา คณิตศาสตร์ ค 011 เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ค 011 แบ่งออกเป็น 14 หน่วยคือ 1.การคูณ การหาร เลขยกกำลัง 2.การบวก การลบพหุนาม 3.การคูณ การหารพหุนาม 4.ทฤษฎีบทปีทาโกรัส 5.จำนวน ตรรกยะและอตรรกยะ 6.รากที่สอง 7.สมบัติของวงกลม 8.การสร้างรูปหลายเหลี่ยม ด้านเท่ามุมเท่าและการหาขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 9.การแก้ สม การเชิงเส้นตัว แปรเดียว 10.การแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 11.การแก้อสมการ เชิง เส้นตัวแปรเดียว12.การแก้โจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 13.ระบบสมการเชิงเส้น สอง ตัวแปร และ 14.อัตราส่วนตรีโกณมิติ แต่ละหน่วยได้กำหนดความรู้พื้นฐานไว้ ผลของการวิจัยมีดังนี้ 1. ในการทดสอบแต่ละหน่วยนักเรียนมากกว่าครึ่งหนึ่งไม่ผ่านจุดประสงค์ของทุก หน่วยและนักเรียนทุกคนไม่ผ่านจุดประสงค์ของหน่วยที่ 6 8 9 11 12 13 และ 14 2. หลังจากการให้ความช่วยเหลือนักเรียนแล้ว นักเรียนทุกคนผ่านทุกจุดประสงค์ ของทุกหน่วย 3. ผลของการสอบปลายภาค ปรากฏว่า นักเรียนยังมีปัญหาความรู้พื้นฐานเดิม ปัญหาที่พบมากคือ นักเรียนสับสนเรื่องการบวก การลบระหว่างจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ และระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ 4. นักเรียนเกือบทุกคนไม่ผ่านวัตถุประสงค์ 'การนำทฤษฎีบทปีทาโกรัสไปใช้ และ 'การแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการตรวจสอบคำตอบ' ข้อเสนอแนะ ครูควรสร้างเครื่องมือเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานเดิมของนักเรียนใน ทุกระดับชั้น ในการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในการเรียนครูควรให้ความสนใจนักเรียนทุกคน และครู ควรหาวิธีการช่วยนักเรียนเพื่อให้เกิดความคงทนในความรู้พื้นฐานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การสอนซ่อมเสริมth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleปัญหาและการให้ความช่วยเหลือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ต่ำ ในโรงเรียนสองคอนวิทยาคม จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeProblems and remedial techniques for Mathayom Suksa III students with low mathematics learning achievement at Songkorn Vittayakom School, Saraburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to study students who lacked basic knowledge, causing them to have low achievement, and to provide remedial teaching. The population was Mathayom Suksa III students who were studying Mathematics 011 in the first semester of 1996 at Songkorn Vittayakom School in Saraburi. The sample was 60 students who received grade "0" in Mathematics 101,102,203,or 204 of Mathayom Suksa I and II Mathematics 011 contents were classified into 14 units: 1. multiplication and division of exponentials, 2. addition and subtraction of polynomials, 3. multiplication and division of polynomials, 4. Pythagoras theorem, 5. rational and irrational numbers, 6. square roots, 7. properties of circles, 8. constructing regular polygons and finding their interior angles, 9. solving single variable equations, 10. problem solving involving single variable equations, 11. solving single variable inequalities, 12. problem solving involving single variable inequalities, 13. linear equation systems:two variables, and 14. trigonometry ratios. The basic knowledge was defined for each unit. There were two paralle subtests for the basic knowledge of each unit. The number of subtest questions depended on the number of objectives of the basic knowledge, two questions per objective. The tests involved multiple choice, drawing graphs, solving problems and writing answers depending on the content. Before studying each unit, students were given a subtest to check their knowledge. If they failed, they received remedial teaching in a subgroup within a class. They were tested again. If they failed, they received self-paced materials prepared by the researcher and repeated the test until they passed. The researcher conducted the teaching throughout the semester. At the end of the semester, students were given a final examination on Mathematics 011. The results were as follows. 1. More than half of the students failed each unit. In units 6,8,9, and 11 to 14, no student was able to pass objectives. 2. After remedial teaching, all students passed every objective. 3. The results of the final examination showed that a lack of basic knowledge still remained. The common problem was that the students were confused on the addition and subtraction of negative integers with negative integers, and of positive integers with negative integers. 4. Ncarly all of the students were unable to pass the objectives "to apply Pythagoras' theorem" or "to solve single variable equations and check the answers" If is recommended that teachers should construct instruments to check students' basic knowledge at every level. To help students who have problems with learning, teachers should give attention to every student. Teachers should find methods that help students to retain knowledge.en_US
dc.contributor.coadvisorกัญจนา ลินทรัตนศิริกุลth_TH
dc.contributor.coadvisorสาคร บุญดาวth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_49909.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons