Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8259
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปภาวดี ประจักษ์ศุภนิติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา อุณหเลขกะ, 2499--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T01:50:00Z-
dc.date.available2023-07-27T01:50:00Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8259-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของ เจ้าหน้าที่สำนักข่าวกรองแห่งชาติ ประชากรที่ศึกษาคือข้าราชการสำนักข่าวกรองแห่งชาติในสาย ปฏิบัติการ การศึกษากระทำโดยการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยข้าราชการจำนวน 247 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างของตัวแปรต่อความ ผูกพัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าข้าราชการชายและหญิงมีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวม ไม่ต่างกัน เมื่อพิจารณาด้านลักษณะงานพบว่าชายจะมีความผูกพันมากกว่าหญิง และความผูกพันต่อ องค์กรที่มากกว่าจะเป็นไปตามอายุ และระยะเวลารับราชการ ส่วนตำแหน่งและระดับตำแหน่งมี ผลต่อความผูกพันต่อองค์กรบ้างเล็กน้อย สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันมากที่สุด ได้แก่ 1) ความภาคภูมิใจในชื่อเสียงและเกียรติภูมิของหน่วยงาน 2) ความพอใจในลักษณะงาน และ 3) ความ มั่นคงในงาน ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในระดับกลางและน้อย คือ ค่าตอบแทนที่เหมาะสม และโอกาสก้าวหน้าในการทำงาน ซึ่งสะท้อนความเป็นวิชาชีพนิยมขององค์กรสูง ข้อเสนอแนะจากการวิจัยได้แก่ สำนักข่าวกรองแห่งชาติควรส่งเสริมความรู้สึกรัก และภูมิใจในองค์กร เพื่อรักษาความจงรักภักดีต่อองค์กรให้คงอยู่และเพิ่มพูนมากขึ้น พัฒนา เจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้มีความรอบรู้ด้วยการฝึกอบรมอย่างเข้มข้น จัดหาค่าตอบแทนเพิ่มพิเศษให้แก่ ข้าราชการผู้น้อยเพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้ในระยะแรกๆ ของการรับราชการ ปรับปรุงสถานที่ให้ สะอาด สร้างบรรยากาศให้สดชื่นแจ่มใสและจัดมุมพักผ่อนเพื่อคลายเครียดจากการทำงาน บริหารเวลาให้เจ้าหน้าที่ได้มีโอกาสหยุดพักผ่อนตามห้วงเวลาที่เหมาะสม จัดให้มีการสื่อสาร ภายในให้มากขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ในองค์กรได้รับรู้นโยบาย ทิศทางการทำงานในแต่ละปื ตลอดจน เรื่องอื่นๆ ที่มีผลต่อการทำงาน ทั้งหมดก็ เพื่อให้สำนักข่าวกรองแห่งชาติสามารถรักษาความเป็นมือ อาชีพซึ่งนำไปสู่ความเป็นองค์กรชั้นนำโดยรวมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักข่าวกรองแห่งชาติth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่สำนักข่าวกรองแห่งชาติth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to study factors affecting organizational commitment of employees working in National Intelligence Agency (NLA) particularly the operation personnel. The study was a survey research. Samples consisted of 247 officials. Instrument used was questionnaire. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, Chi-Square, t-test and F-test. The research revealed that there were no differences between overall commitment of male and female employees. When considered job characteristics, it was found that males were more committed than females, and the commitment was more related to age and working years. Position and title had small effect on organizational commitment. The variables that affected organizational commitment most were 1) pride on organizational credibility and reputation. 2) job satisfaction particularly on job characteristics and 3) job security. The variables that had medium and low effect were remuneration and growth opportunity, which reflected the high organizational value of professionalism. The researcher recommended that NIA should foster the personnel feeling of love and pride in the organization in order to maintain and increase their loyalty, develop knowledgeable workers through intensive training, support ranks and files in their early years by allocating appropriate compensation which would result in their better living, improve cleanliness of workplace, create serene atmosphere, and set up rest comers for employee relaxation so to avoid work stress while allow appropriate rest period during working day, provide internal communication regularly to keep consistent awareness of personnel on organization policy, annual job direction, and other important issues related to their job. All of these would result in NIA capability to maintain more professionals which would lead to excellent performance of the organization as a wholeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98044.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons